Home | แหล่งท่องเที่ยว | สำนักสงฆ์ดุซงญอ | ข้อมูลตำบล 3 | ชมรมจักายานอำเภอจะแนะ Dpcc Club | ชมรมจักรยานดซงญอไบด์ Dusongyo Bike | ผู้นำดุซงญอ | เบิกฟ้าชมวังพระยาระแงะ | Selamat Datang Dusongyo | ประวัติบ้านดุซงญอ | สภาพทั่วไปบ้านดุซงญอ | มัสยิดดุซงญอ(ร้อยเสา) | ตำนาน'กบฏดุซงญอ' | ตราพระยาระแงะ | ข้อมูลพื้นฐานชุมชน 1 | ข้อมูลพื้นฐานชุมชน 2 | ทำเนียบผู้บริหารและสมาชิก อบต.ดุซงญอ | ข้อมูลตำบล 5 | แผ่นที่ตั้งตำบลดุซงญอ | ข้อมูลตำบล 4 | แผ่นที่ตั้งชุมชนในตำบล | ชมรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดุซงญอ | ข้อมูลตำบล 1 | ข้อมูลตำบล 2 | สมาคมและสุสานคนจีนดุซงญอ | ติดต่อเรา


Category
   ผู้นำของเรา บ้านดุซงญอ
   ผู้นำศาสนาตำบลดุซงญอ
   เยาวชนคนเก่ง'บ้านดุซงญอ'
   ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงค์ นักเขียนชื่อดัง
   ชัย สานุวัฒน์ คนดุซงญอ
   ทำไม?เรียกกบฏ'ดุซงญอ'
   ดุซงญอเหรอ ''กบฏ''
   อนุสาวรีย์ 'กบฏดุซงญอ' ยังอยู่
   เหตุการณ์ ๕๑ บ้านดุซงญอ
   คนจีนรุ่นแรก'บ้านดุซงญอ'
   คนจีนรุ่นสุดท้าย'บ้านดุซงญอ'
   จากอีสานสู่ 'บ้านดุซงญอ'
   โรงเรียนสวนพระยา'ดุซงญอวิทยา'
   องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ
   หัวหน้าส่วนราชการ ท้องถิ่นดุซงญอ
   โรงเรียนบ้านดุซงญอ
   สถานีตำรวจ 'บ้านดุซงญอ'
   รพ.สต.ตำบลดุซงญอ
   ที่ทำการไปรษณีย์ 'ปณ ดุซงญอ'
   บ้านแมะแซ ม.2
   บ้านสุแฆ ม.3
   บ้านรือเปาะ ม.4
   บ้านกาแย ม.5
   บ้านกาเต๊าะ ม.6
   บ้านน้ำหอม ม.7
   บ้านสาเม๊าะ ม.8
   บ้านดุซงญอ ม.1
   ผู้ก่อตั้ง จัดทำ Web sibe
   โครงการฝายในพระดำริตำบลดุซงญอ
   บ้านแอเจะ,บือจะ,ริแงตำบลผดุงมาตร
   บ้านเมาะตาโก๊ะ,ไอร์ปีแซ,ลูโบ๊ะตำบลผดุงมาตร
   บ้านน้ำวน,กูมุง,ไอร์ซือเร๊ะตำบลช้างเผือก
   บ้านไอร์บือแต,ไอร์โซ,ไอร์บาลอ,ช้างเผือกตำบลช้างเผือก
    บ้านยะออ,จะแนะตำบลจะแนะ
   บ้านมะนังกาแยง,ปารีตำบลจะแนะ
   บ้านสะโก,ไอร์กรอสตำบลจะแนะ
   บ้านตือกอ,บือแตตำบลจะแนะ
   บ้านไอร์มือแซ,ยารอตำบลจะแนะ
   อนุสาวรีย์กบฏดุซงญอ ถูกทุบ
 
Webboard
  Site Board
 
New Update
Link

free counters
Sine,November 16,2011
 

Online: 001
Visitors : 81284

ข้อมูลตำบล 5

 

 ข้อมูลตำบล (ต่อ)

 

-    บ้านกาเต๊าะ ทุเรียน  เกษตรกร        จำนวน ๙๑ ราย เนื้อที่ปลูก ๑๙๘ ไร่                ทุเรียนหมอนทอง เกษตรกร    จำนวน ๗๑ ราย เนื้อที่เพาะปลูก ๑๖o ไร่          ทุเรียนพื้นมือง เกษตรกร        จำนวน ๒o ราย เนื่อที่เพาะปลูก ๓๘ ไร่            ทุเรียนก้านยาวและชนี เกษตรกร  จำนวน – ราย เนื่อที่เพาะปลูก – ไร่

-    บ้านน้ำหอม ทุเรียน  เกษตรกร     จำนวน ๑๖๘ ราย เนื้อที่ปลูก ๘๔๘ ไร่               ทุเรียนหมอนทอง เกษตรกร  จำนวน ๑๔๒ ราย เนื้อที่เพาะปลูก ๗๒๘ ไร่         ทุเรียนพื้นมือง เกษตรกร        จำนวน ๒๖ ราย เนื่อที่เพาะปลูก ๑๒o ไร่           ทุเรียนก้านยาวและชนี เกษตรกร   จำนวน – ราย เนื่อที่เพาะปลูก – ไร่

-    บ้านสาเมาะ ทุเรียน  เกษตรกร         จำนวน ๔o ราย เนื้อที่ปลูก ๕o ไร่                     ทุเรียนหมอนทอง เกษตรกร   จำนวน ๓๓ ราย เนื้อที่เพาะปลูก ๒๗ ไร่             ทุเรียนพื้นมือง เกษตรกร     จำนวน ๗ ราย เนื่อที่เพาะปลูก ๒๓ ไร่                 ทุเรียนก้านยาวและชนี เกษตรกร  จำนวน – ราย เนื่อที่เพาะปลูก – ไร่

-    รวม ๘ หมู่บ้าน ทุเรียน เกษตรกร จำนวน ๕๕๑ ราย เนื้อที่ปลูก ๑,๘๘๔ ไร่               ทุเรียนหมอนทอง เกษตรกร   จำนวน ๔๘๑ ราย เนื้อที่ปลูก ๑,๕๒๗ ไร่           ทุเรียนพื้นเมือง เกษตรกร      จำนวน ๑o๙ ราย เนื้อที่ปลูก ๓๕๗ ไร่               ทุเรียนก้านยาวและชนี เกษตรกร   จำนวน ๑๑ ราย เนื้อที่ปลูก ๒๒ ไร่

ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ณ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒  

๒๕.ทรัพยากรป่าไม้

          ในเขตพื้นที่ตำบลดุซงญอ มีบางส่วนเป็นเขตอุทยานแห่งชาติเขาซีโป ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือของตำบล มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ประกอบด้วยป่าดงดิบขึ้น เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด นอกจากนี้ยังมีป่าด้านทิศตะวันตก และตะวันตกเฉียงใต้ ครอบคลุม หมู่ที่ ๔ บ้านรือเปาะ หมู่ที่ ๕ บ้านกาแย หมู่ที่ ๖ บ้านกาเต๊าะและหมู่ที่ ๗ บ้านน้ำหอม ก็เป็นป่าดงดิบชื้นและมีสภาพที่อุดมสมบูรณ์เช่นเดียวกัน มีไม้เศรษฐกิจที่สำคัญ เช่นไม้ตะเคียงทอง เป็นต้น

๒๖.สภาพสิ่งแวดล้อม

          ขยะ

-         ปริมาณขยะ ประมาณ ๑๔o ตัน / เรือน

-         จำนวนที่ดินสำหรับกำจัดขยะของตำบลดุซงญอ ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ บ้านดุซงญอ

-         รถยนต์ที่ใช้ในการเก็บขยะ จำนวน ๑ คัน

          น้ำเสีย

-         ในเขตตำบลดุซงญอ ไม่มีปัญหาเรื่องน้ำเสีย

๒๗.ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน

          ลักษณะการตั้งถิ่นฐานโดยทั่วไปในพิ้นที่ตำบลดุซงญอมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม นิยมตั้งบ้านเรือนอยู่กันเป็นกลุ่มมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยมีมัสยิดเป็นศูนย์กลางการตั้งถิ่นฐาน โดยทั่วไปอยู่ในพื้นที่ราบและมีเส้นทางคมนาคมที่สำคัญสายหลักได้แก่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑o๑ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑๑๓ และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒o๑ สำหรับบริเวณที่มีการตั้งถิ่นฐานของชุมชนหนาแน่นจะอยู่บริเวณศูนย์กลางชุมชนคือหมู่ที่ ๑ บ้านดุซงญอ หมู่ที่ ๒ บ้านแมะแซและหมู่ที่ ๔ บ้านรือเปาะ

๒๘.ลักษณะของดิน

          พื้นที่ตำบลดุซงญอ ส่วนใหญ่เป็นแนวภูเขาสูงและแนวภูเขาสลับซับซ้อน ซึ่งส่วนมากของพื้นที่จะอยู่ห่างทางทิศใต้และทิศตะวันตกและพื้นที่ราบจะอยู่ทางด้านเหนือของตำบลเป็นส่วนใหญ่ มีสภาพดินที่แตกต่างไปตามสภาพพื้นที่ดังนี้

-         กลุ่มดินนา ครอบคลุมพื้นที่ของตำบลประมาณ ๓ % ซึ่งอยู่ในหมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๒ หมู่ที่ ๓ หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๘ เป็นจำนวน ๒,๑๔๑ ไร่

-         กลุ่มดินที่ปลูกยางพารา มีพื้นที่ประมาณ ๒o % ที่โดยครอบคลุมทุกหมู่บ้านเป็นจำนวน      ๓๑,o๑๖ ไร่

-         กลุ่มภูเขา มีพื้นที่ของตำบลซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะ ป่าไม้และใช้ปลูกไม้ยืนต้นต่างๆประมาณ ๗๗ % เป็นจำนวน  ๓๑,o๘๔ ไร่

๒๙.ด้านการบริหารจัดการสาธารณภัย

          ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

-         ในเขตตำบลดุซงญอ มีหน่วยงานที่คอยควบคุมดูแลความสงบเรียบร้อยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ดังนี้

๑.ศูนย์อาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือน (อปพร.) จำนวน ๑ แห่ง  คือ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอโทร.1669 หรือ 073-530457

๒.ชุดรักษาคุ้มครองความปลอดภัยในหมู่บ้าน (ชรบ.)จำนวน ๘ แห่ง

          การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

-         รถ อพปร. รับ-ส่ง ผู้ป่วย จำนวน ๑ คัน

-         รถดับเพลิง จำนวน ๑ คัน

-         รถบรรทุกน้ำ จำนวน ๑ คัน 

 ที่มา : งานวิเคราะห์นโยบายและแผน องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ น.ส.กุลธิดา เลนุกูล ,๒๕๖๑ – ๒๕๖๓  .   นายฮาลูซี บือซา แอดมินwww.dusongoyo.com

 

          

 

 

 


Copyright © 2005 หมู่บ้านดุซงญอ Allrights Reserved.
Powered By www.Freethailand.com