Home | Service | News | เว็บบัญชี ที่น่าสนใจ | สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้างและนายจ้าง ตามกฎหมายแรงงาน | Easy_acc for Windows | Link Ranong | แบบจำลองการเริ่มต้นธุรกิจ SME | อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ เริ่มใช้ 1 มิถุนายน 2551 | การหักภาษี ณ ที่จ่าย | สำนักงานประกันสังคม | การยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ต | รู้เรื่องภาษี | รวมแบบฟอร์ม หนังสือสัญญาต่าง ๆ บริการฟรี | ศัพท์บัญชี | การยื่นงบการเงิน | สัมมนาที่น่าสนใจ ปี 2549 จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า | บิซิเนสไทย | ถาม-ตอบ เกี่ยวกับภาษีอากร จากกรมสรรพากร | ถาม-ตอบ ยื่นแบบ/ชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต | ข้อหารือภาษีอากร จากกรมสรรพากร | เกร็ดความรู้ทางธุรกิจ | การจำหน่ายหนี้สูญที่เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม | เงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี | วางแผนการเงิน 6 แผนการเงินที่ควรทำ


Category
   ความเป็นมา
   แผนยุทธศาสตร์กรมสรรพากร พ.ศ.2548-2551
   หน้าที่สำหรับผู้ประกอบการรายใหม่
   สมุดบัญชีที่ผู้ทำบัญชี ต้องจัดทำ ตาม พรบ.การบัญชี พ.ศ.2543
   เอกสารที่ต้องนำส่งเมื่อถูกเรียกตรวจสอบ จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   ข้อควรระมัดระวังในการเลือกผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี
   ข้อควรปฏิบัติ เมื่อกิจการถูกตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้
   สำนักงานบัญชี เปลี่ยนไป
   สำนักงานบัญชีไทย V.S. ยุโรป,อเมริกา
   เตรียมรับมือสรรพากรอย่างไร?
   การยกเลิกใบกำกับภาษี แล้วออกฉบับใหม่ ทำอย่างไร?
   การออกใบแทนใบกำกับภาษี ฉบับที่สูญหาย ทำอย่างไร?
   หน้าที่ตามกฎหมายของผู้เสียภาษีอากร
   เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไร?
   เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับสำนักงานบัญชียุคพัฒนา
   กรมสรรพากรให้บริการไอที Web Services ถึง 8 รายการ
   การแจ้งเปลี่ยนแปลงจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
   สิทธิตามกฎหมายของผู้เสียภาษีอากร
   ใครบ้าง ที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีอากร
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 1
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 2
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 3
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 4
   ราชการใสสะอาด - วินัย/จรรยาบรรณ
   ดีเอสไอ. จับหนุ่มโกงภาษี
   บทความที่น่าสนใจจาก เว็บนักบัญชี.คอม
   แผนที่ชีวิตของคุณ?
   ถนอมสุขภาพตาอย่างไร เมื่ออยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ
   เลือกซอฟท์แวร์อย่างไร สำหรับ SMEs
   การเสียเบี้ยปรับ ในกรณียื่นแบบ ภพ.30 เอง
   อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม,ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั่วโลก
   การจัดตั้งคณะบุคคลทำอย่างไรบ้าง?
   การวางแผนภาษี เลือกจัดตั้งองค์กรธุรกิจ อย่างไรจึงเหมาะสม
   ค่าจดทะเบียนพาณิชย์, ห้างหุ้นส่วน และ บริษัทจำกัด
   ขั้นตอนการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด ทางอินเตอร์เน็ต
   คำเตือนในการนำส่งงบการเงินประจำปีของห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด
   กรณีศึกษา - หมึกแดงกับการวางระบบบัญชีที่ตรวจสอบได้
   การขอเพิ่มสิทธิ์การติดตั้งโปรแกรม EASY_ACC
   คำแนะนำการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ฯ สำหรับการจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพพิเศษจากกรมสรรพากร
   พรบ.การบัญชี 2543 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี
   การหักภาษี ณ ที่จ่าย
   เลขทะเบียนนิติบุคคลใหม่ 13 หลัก
   กลยุทธ์การป้องกันการถูกยึดกิจการ
   5 สัญญาณเตือนไทย ระวังการควบรวมกิจการ
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้าให้บริการคัดสำเนาหนังสือรับรองผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต
   สัมมนาหลักสูตรพื้นฐานสำหรับพัฒนาสำนักงานบัญชี ปี 2549
   โครงการอบรมนิติบุคคลที่จดทะเบียนใหม่ ปี 2549 (ฟรี)
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพผู้ประกอบการ
   อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล เปลี่ยนแปลงเมื่อไร?
   เตือนผู้ทำบัญชี แจ้งการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
   การคำนวณเงินตราต่างประเทศเป็นเงินตราไทย ตามประมวลรัษฎากร
   อบรมเริ่มต้นธุรกิจแบบมืออาชีพ
   อัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2549
   การบริหารร้านค้าปลีกแบบมืออาชีพ
   การสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง
   การทำความเข้าใจกับลูกค้า
   คำอธิบายระหว่าง RMF. และ LTF.
   RMF. & LTF. (2)
   RMF. & LTF. (3)
   RMF. & LTF. (4)
   RMF. & LTF. (5)
   RMF. & LTF. (6)
   กลุ่มบุคคลแอบอ้างเป็นสรรพากรเรียกรับผลประโยชน์ในทางมิชอบ
   แบบสอบถามความเห็น การปรับปรุงการหักค่าใช้จ่ายเงินได้พึงประเมิน
   เปิดเว็บไซต์ ฟรี กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   5 อุปนิสัยในการประมวลผลที่ดี
   กิจวัตรประจำวัน และ จำนวนวันที่มีในชีวิตของคนเรา
   เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (1)
   เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (2)
   ปรับตัว/เตรียมใจอย่างไร? หากเกิดการเลย์ออฟ
   จดแล้วไม่จนจริงหรือ?
   สิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง
   โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่
   หน่วยงานที่ให้บริการแก่ธุรกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง SME
   เตือนให้ส่งงบการเงินปี 2548 ภายใน 31 พฤษภาคม 2549
   ภาษีมูลค่าเพิ่ม,ภาษีเงินได้ กรณีขายบัตรเงินสด
   คำถาม-ตอบในการสัมมนา "การยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต"
   ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการเฉลี่ยภาษีซื้อ
   กรมสรรพากรจัดสัมมนาภาษีอากร ฟรี
   การตัดมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่ของทรัพย์สินที่สูญหายหรือชำรุดใช้งานไม่ได้
   กรณี - ความผิดการใช้ใบกำกับภาษีปลอม และพิสูจน์ผู้รับเงินไม่ได้
   อัตราค่าปรับยื่นงบการเงินปี 2554 ล่าช้า (เริ่มใช้ เมษายน 2555)
   อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ใช้ทั่วประเทศ - กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   กรณีย้ายสถานประกอบการ ใบกำกับภาษีฉบับเดิมยังใช้ได้หรือไม่
   กรณีซื้อสินค้าหรือรับบริการแล้ว ผู้ขายไม่ออกหลักฐานการรับเงินให้ จะทำอย่างไร?
   วางแผนภาษีกับ การลงทุนใน RMF. & LTF.
   การวางแผนภาษี นั้นสำคัญไฉน??
   คำชี้แจงเกี่ยวกับการยื่นงบการเงิน
   การอัพเกรด Easy_Acc for Windows
   ประโยชน์ของการจัดทำบัญชี
   ประเด็นความผิดเกี่ยวกับใบกำกับภาษี ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
   ร่าง พรบ.ของแถมของรางวัล
   สปส. ประกาศกฎกระทรวง เพิ่มคุ้มครอง 6 โรคเรื้อรัง
   ผู้ประกันตน ตาม ม.39 สิ้นสภาพ อย่าลืมรับเงินออม
   สิทธิและหน้าที่ที่ผู้ทำประกันภัยรถยนต์ควรรู้
   ภาษีเงินได้ที่ต้องเสีย - น้องเดียว
   กรณีศึกษา - ภาษีน่ารู้
   เคล็ดลับหาเงินทุน บุกเบิกธุรกิจด้วยตนเอง
   ถึงเวลายื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปีแล้ว (ภงด.94/49)
   ให้บริการยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต
   การวางแผนการเงินส่วนบุคคล
   กรณีศึกษา - การส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายแทนกัน
   กรณีศีกษา - รายรับถึงเกณฑ์ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แล้วไม่จด ต้องเสียเบี้ยปรับ/เงินเพิ่ม
   กรณีศึกษา - นายจ้างจ่ายค่าเบี้ยประกันให้พนักงาน
   ดับค้าปลีกต่างชาติในเยอรมัน-เกาหลี
   เสียภาษีอย่างไรให้ประหยัด
   เทคนิคการเลือก "กองทุน"
   บริษัท/ห้างฯ ที่จดทะเบียนใหม่จะต้องทำอะไรบ้าง?
   การเลือกซื้อกองทุน LTF
   การทำกิจการ "ค้าของเก่า"
   โครงการอบรมนิติบุคคลที่จดทะเบียนใหม่ ปี 2550 (ฟรี)
   รายชื่อผู้สอบบัญชีภาษีอากรทั้งหมด และที่ถูกพักใบอนุญาต
   เกณฑ์การรับรู้รายได้ รายจ่ายทางภาษีอากร (เกณฑ์สิทธิ) เริ่มใช้ 1 มกราคม 2550
   ภาษีซื้อห้ามขอคืน แต่ถือเป็นค่าใช้จ่ายได้
   SMEs เสียภาษีสรรพากรอย่างไร?
   สิทธิของผู้ประกันตน กรณีว่างงาน
   ผู้มีเงินได้บุคคลธรรมดา จะต้องทำบัญชีหรือแสดงรายได้เพื่อเสียภาษีอย่างไร?
   หลากกฎเตือนใจช่วยประหยัด-ฉลาดจ่าย
   กลยุทธ์ปั้นธุรกิจสู่เส้นชัย จาก 5 บริษัทชั้นนำระดับโลก
   กานต์ ตระกูลฮุน บ่มภาวะผู้นำ "คนปูน"
   ขอคืนภาษี โดยไม่สุจริต ระวังติดคุก?
   ข้อแตกต่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน/บริษัท ปี 2538 กับ 2549
   หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่
   หลักเกณฑ์การใช้สิทธิซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว
   หลักเกณฑ์การใช้สิทธิซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อเลี้ยงชีพ
   ปรัชญานายห้างเทียม
   คดีภาษีขึ้นศาลภาษีอากรกลาง เพิ่มขึ้น 100%
   ภาษีมรดกในประเทศไทย
   ค่าลดหย่อนการศึกษาของบุตรตามกฎหมายภาษีไทย
   ผู้มีเงินได้ที่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.90,91 และ 94
   วิธีการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล - ภงด.50 และ ภงด.51
   วางแผนการเงินให้ครอบครัวเภสัชกร
   ช่วยผู้บริหารสานสัมพันธ์ ผูกมิตรกับพนักงานระดับล่าง
   เงินได้ของแพทย์เสียภาษีอย่างไร?
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เตือนให้ยื่นงบการเงินปี 2549 ภายใน 1 มิถุนายน 2550
   เมื่อจดทะเบียนเลิกบริษัท/ห้างฯ แล้ว จะต้องชำระบัญชีเมื่อไร?
   ก่อนเริ่มต้น ทำพาณิชย์อีเล็กทรอนิกส์
   ข้อชี้แนะในการเลือกนักบัญชี (สำนักงานบัญชี)
   กรณีขายน้ำผลไม้สดคั้น
   ปฏิวัติ พ่อแม่
   The Future of Accounting
   สรรพากรเอกซเรย์ทั่วประเทศ ผงะใบกำกับภาษีปลอม500ล.
   อยากให้ลูกเรียนกฎหมาย
   การลงทุนในเวียตนาม
   ถึงเวลาแล้ว ต้องยื่น ภงด.50 รอบปีบัญชี 2550 แล้ว
   สิทธิประโยชน์ทางภาษี ของผู้ส่งออกที่ดี
   ค่าตอบแทนที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณมูลค่าของฐานภาษี
   พิธีการศุลกากร การนำเข้า-ส่งออกสินค้ากับพม่า
   สรรพากรจะให้ร้านค้าใช้เครื่องเก็บเงินในปีหน้า
   ภาษีมูลค่าเพิ่มอัตรา 7% ใช้ถึง 30 กันยายน 2551
   สรรพากรเอาผิดผู้หลีกเลี่ยงภาษีอากรหรือขอคืนภาษีเป็นเท็จ
   ระวัง มิจฉาชีพ อ้างเป็นเจ้าหน้าที่สรรพากรทางโทรศัพท์
   ลูกจ้างควรวางแผนภาษีเงินได้อย่างไร
   คำถามยอดนิยมจากเว็ปกรมสรรพากร
   สวนดุสิตโพลล์ชี้ผลวิจัยล่าสุด บัญชี แพทย์ บริหาร คอมฯ วิศวะ ครองแชมป์ได้งานสูง
   ถอนทะเบียนบริษัทร้าง 4,216 ราย
   สัมมนา "เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสำนักงานบัญชี
   หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรองคุณภาพสำนักงานบัญชี พ.ศ.2550
   เตือนผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชียื่นงบการเงินประจำปี 2550
   มาตรการภาษี กระตุ้นเศรษฐกิจใช้บังคับปีภาษี 2551
   รายงานที่ต้องจัดทำในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
   ระเบียบใหม่ - การจัดประชุมผู้ถือหุ้นต้องประกาศทางหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่
   การเสียภาษีธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ใหม่
   จัดตั้งบริษัทจำกัดได้ภายในวันเดียว เริ่ม 1 กรกฎาคม 2551
   กฎหมายใหม่สำหรับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เริ่มใช้ 1 มกราคม 2551
   สรุปประเด็นข้อผิดพลาดในการตรวจสอบของผู้สอบบัญชี
   ฏีกาภาษี ประเด็นมาตรา 40 (2) หรือ 40 (8)
   เงินได้นอกจากเงินเดือน ได้รับยกเว้นภาษีตามมาตรา 48 (2)
   ด่วน.... สัมนาภาษีอากร ฟรี กับกรมสรรพากร
   ภาษีที่เกี่ยวกับการขายอสังหาริมทรัพย์
   ภาษีที่ดิน
   การลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม 6 เดือน
   สรรพากรไล่บี้สำนักงานบัญชี และผู้ประกอบการที่เลี่ยงภาษี
   เป้าเก็บภาษีปี 2553 - กรมสรรพากร
   กรมสรรพากร - เตือนผู้ทำบัญชีระมัดระวังในการจัดทำงบการเงิน
   การวิเคราะห์ภาระภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม และการขยายฐานภาษี
   งบการเงิน ใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552
   อัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ เริ่ม 1 มกราคม 2553
   มีอะไรใหม่ ในการยื่นชำระภาษีปี 2552 (ภงด.90 / 91)
   หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นงบการเงิน พ.ศ.2553 - ใหม่
   ข้อบกพร่องในการรับงบการเงิน ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   สัมมนาฟรี เรื่อง "เตือนไว้อย่าใสซื่อ กับภาษีซื้อต้องห้าม"
   ขยายเวลา การยื่นงบการเงิน ปี 2552 (3 เขต ใน กทม.)
   กรณีการเสียภาษีเพิ่มขึ้น เมื่อเงินได้ภรรยา ยื่นรวมกับสามี
   สัมมนาฟรี "เตือนไว้อย่าใสซื่อ กับภาษีซื้อต้องห้าม"
   สัมมนาฟรี "ฝ่าวิกฤต พิชิตปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล"
   คัดสำเนาหนังสือรับรอง, เอกสารการจดทะเบียน และงบการเงินทาง e_Service
   การทำธุรกรรมทางออนไลน์ เสียภาษีหรือไม่?
   สำนักงานบัญชี ที่ต้องวางหลักประกันความรับผิดต่อบุคคลที่สาม 3%
   "สมคิด" เสนอปฏิรูปการคลัง ก่อนทุกอย่างจะสายเกินไป
   สัมมนาฟรี "ลด แลก แจก แถม อย่างไร สบายใจ เรื่องภาษี"
   สรรพากรรื้อใหญ่ขยายฐานรายได้ ไม่เน้นขึ้นภาษี หันเก็บทั่วถึง-เป็นธรรม
   สรรพากรประกาศนโยบาย BIG CHANGE ตั้งเป้าปี54 เก็บภาษี 1.3 ล้านล้าน
   บริหารภาษีอย่างถูกวิธี - น่าสนใจ จริง ๆ
   ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป
   ข้อควรทราบเกี่ยวกับการขายอสังหาริมทรัพย์ มีอะไรบ้าง?
   มาตราการภาษีที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
   คลังลุยรื้อภาษีมุ่งลดเหลื่อมล้ำ
   โค้งสุดท้าย ซื้อ RMF/LTF ประหยัดภาษีปี 2553
   ชง ครม. เรียกเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชา รัฐได้เพิ่ม 4,000 ล้านบาท
   การจัดทำบัญชีอย่างง่าย ของ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   กำไรจากการขาย LTF
   สรรพากรเตือนผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องยื่นแบบ ภงด.90/91
   ประเด็นความผิดที่ตรวจพบในงบการเงินของกรมสรรพากร
   เตรียมลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เริ่ม 1 มค.2555
   กรมสรรพากร - คู่มือประชาชน
   แนวปฏิบัติของผู้เสียภาษ๊ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติอุทกภัย 2554
   บริการ 3 กรมภาษี กระทรวงการคลัง
   กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554
   ประกันสังคม ลดอัตราเงินสมทบนายจ้างและผู้ประกันตน จาก 5% เหลือ 3% และ 4%
   ผู้หญิงเฮ ! แยกยื่นเสียภาษีกับสามี จ่ายน้อยลง ผลงานโบว์แดงผู้ตรวจการแผ่นดิน ???
   1 กุมภาพันธ์ 2555 เริ่มใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 13 หลัก
   ขอหนังสือรับรองจดทะเบียนหุ้นส่วน/บริษัท ผ่านธนาคาร ได้แล้ว
   กรณีกรมสรรพากรให้หักค่าลดหย่อนค่าซ่อมบ้านและค่าซ่อมรถเนื่องจากน้ำท่วม ปี 2554
   กรมสรรพากร ให้ยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต มากขึ้น
   ค่าจ้างแรงงานต่อวัน เริ่มใช้ 1 เมษายน 2555 เป็นต้นไป
   ผู้หญิงมีสามีเฮ! ศาลรธน.ตัดสินกม.สรรพากรขัดรัฐธรรมนูญ แยกยื่นภาษีได้-จ่ายน้อยลง-ไม่ต้องหย่าแล้ว
   ข่าวกรมสรรพากรที่น่ารู้
   แนวปฏิบัติการเสียภาษีสามี-ภรรยา แยกกันยื่นแบบทุกภาษี เริ่มปีภาษี 2555 เป็นต้นไป
   การยื่นแบบแสดงรายการภาษี และยื่นแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย ตามประกาศของ ป.ป.ช. เริ่ม 1 เมษายน 2555
   ระเบียบใหม่ การจัดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจำกัดและบริษัทจำกัด เริ่มใช้ 2 มกราคม 2556 เป็นต้นไป
   แนวปฏิบัติการเสียภาษีเงินได้ กรณีสามีภรรยา (ฉบับใหม่) เริ่มใช้ 14 มกราคม 2556
   ขยายเวลาการใช้เลขภาษี 10 หลัก ถึง 31.7.2556
   คำแนะนำในการยื่นบัญชีแสดงรายรับ-รายจ่ายของโครงการ ตาม (บช.1)
   สิทธิประโยชน์ทางภาษีบุคคลธรรมดา ปี 2556 .....ใหม่ล่าสุด
   เพิ่มข้อความ "เลขภาษี 13หลัก" และ "สาขาที่ออกใบกำกับภาษี" ลงในใบกำกับภาษีขาย และใบกำกับภาษีซื้อ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2557
   สัมมนา ฟรี กับสรรพากร (ครึ่งวัน ในวันที่ 5-6 สิงหาคม 2556 จำนวน 4 รอบ)
   ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ฉบับที่..... มาตรการปรับปรุงโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาฯ เริ่มใช้ 1 มค.2556
   การลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปี 2556
   ข้อความอื่นในใบกำกับภาษี ที่จะเริ่มใช้ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป
   สามีภรรยาร่วมกันทำการค้าถ้ารายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องจด VAT
   หลักเกณฑ์การประกาศให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล
   หสม. หรือ คณะบุคคล ตามกฎหมายใหม่ เริ่ม 1 มกราคม 2558
   ขยายกำหนดเวลาการยื่นแบบทางออนไลน์ของกรมสรรพากรไปถึง มค.2560
 
Webboard
  Site Board
 
New Update
สำนักงานบัญชี
1. ให้บริการวางระบบบัญชีของธุรกิจ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี&lt;br&gt;<br>

2. ให้บริการจัดทำบัญชี และรายงานผลการดำเนินธุรกิจเป็นรายเดือน ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี EASY_ACC&lt;br&gt;<br>

3. ให้บริการและให้คำแนะนำในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี <br>

ได้แก่ ภพ.30 ภงด.1,3,53,50,51,90,91,94 ทางอินเทอร์เน็ต ให้บริการแก่ผู้ประกอบการได้ทุกจังหวัดทั่วประเทศ ประหยัดเวลา ไม่ต้องเสียเวลารอและการเดินทางของพนักงานสำหรับการยื่นแบบและชำระภาษี &lt;br&gt;<br>

4. ให้บริการตรวจสอบการเสียภาษีเงินได้, ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฯ ก่อนการ เข้าตรวจสอบของเจ้าพนักงาน&lt;br&gt;<br>

5. จัดทำบัญชีและส่งมอบเอกสารบัญชี, สมุดบัญชีให้ผู้ประกอบการเก็บไว้ตาม พรบ.การบัญชี &lt;br&gt;<br>

สอบถามได้ที่ 077-811694, แฟ็กซ์ 077-813156หรือ E_mail :<a href=mailto:info@teinpun.com>info@teinpun.com</a>; &amp;:<a href=mailto:teinpun@yahoo.com>teinpun@yahoo.com</a>;
 

Online: 001
Visitors : 79210

สมคิด เสนอปฏิรูปการคลัง ก่อนทุกอย่างจะสายเกินไป

วันที่ 05 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ปีที่ 34 ฉบับที่ 4233  ประชาชาติธุรกิจ


"สมคิด" เสนอปฏิรูปการคลัง ก่อนทุกอย่างจะสายเกินไป




เมื่อวันที่ 31 ก.ค. 53 มูลนิธิสัมมาชีพร่วมกับเครือมติชน จัดโครงการอบรม "ผู้นำ-นำการเปลี่ยนแปลง" ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 31 ก.ค.-5 ก.ย. เพื่อติดอาวุธทางปัญญาให้กับผู้นำรุ่นใหม่ในทุกภาคส่วนของสังคมที่มีความตั้งใจจริง และมีเป้าหมายชัดเจนที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นในสังคมไทย และพร้อมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนต่อไป

โดยวันแรกของการเปิดโครงการ ศาสตราภิชาน ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ นายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ และอดีตรองนายกรัฐมนตรี ได้บรรยายพิเศษด้วยการตั้งชื่อหัวข้อว่า "คิดใหม่ประเทศไทย" เนื่องจากเขาอยากบอกกับประเทศไทยว่า ถึงเวลาแล้วที่ต้องคิดใหม่ก่อนที่จะสายเกินไป

ดร.สมคิดให้ลองหลับตานึกภาพ ถ้าไม่คิดเรื่องความขัดแย้ง ลองมองที่ประเทศไทยว่ามีปัญหาอะไรที่ท้าทายเรารอการบริหารจัดการ ลองมองที่ภาคใต้มันสงบแล้วหรือ วันนี้แทบจะไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 4 จังหวัดภาคใต้กับคนไทยส่วนที่เหลือได้แต่ดูจากข่าวที่มาทีละอย่างว่าตรงนั้นระเบิด งบประมาณหมดไปเท่าไรแล้ว คนตายไปเท่าไรแล้ว ความคิดที่จะไปฟื้นฟูเศรษฐกิจที่นั่น ฟื้นฟูความกลมเกลียวที่นั่นอยู่ที่ไหน ถ้าเป็นแบบนี้ใครจะมาเชื่อมั่นเรา นี่คือปัญหาที่รอการจัดการอย่างเป็นระบบและโปร่งใส

ลองดูที่มาเลเซียซึ่งเป็นประเทศที่ฉลาด เขาประกาศจะขยับจากประเทศรายได้ระดับกลางไปสู่รายได้ระดับสูง เขามีเป้าชัดเจน

เขาลงทุนในการพัฒนาบุคลากร เขารู้ว่าความกลมเกลียวในชาติเป็นสิ่งสำคัญ เขายกเลิกสิทธิของชนชาติมาเลย์ดั่งเดิมให้ลดลงมาอย่างเท่าเทียม หรือแม้แต่อินโดนีเซียก็มีเป้าหมายที่ชัดเจนจะเป็นครัวโลก ขณะที่เวียดนามประกาศปฏิรูปกฎหมาย และกระบวนการภาครัฐ รวมทั้งทุ่มเทการศึกษาและวิทยาการ ที่สำคัญกำลังจะใช้เวทีเอเชียเป็นตัวชูโรงอยู่แนวหน้าของกลุ่มอาเซียน

นั่นคือตัวอย่างบางส่วนที่ ดร.สมคิดหยิบยกมาให้เห็นว่า ทุกประเทศเขามีเป้าหมาย เขามียุทธศาสตร์ มีความมุ่งมั่นที่จะทำ

และจริง ๆ แล้วเมืองไทยข้างหน้ามีโอกาสมหาศาล จากเอเชียที่กำลังทะยานขึ้นมาด้วยจุดที่ตั้งของเมืองไทย และด้วยความสัมพันธ์ที่เราดีกับทุกประเทศในอดีต เราน่าจะได้ผลพวงจากตรงนี้มากที่สุด

ดร.สมคิดมีความเชื่ออย่างหนึ่งว่า ประเทศที่อยู่ในสถานะคล้าย ๆ กับไทยในระยะ 5-6 ปีข้างหน้า มีภารกิจเชิงนโยบายที่สำคัญมาก ๆ 2 ระดับ คือ 1.ต้องเปลี่ยนเข็มมุ่งของทิศทางการพัฒนาจากเน้นการเติบโตเป็นหลักไปสู่การยกระดับรายได้ คุณภาพชีวิต และลดความไม่เท่าเทียมกัน และ 2.ต้องเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจเป็นการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ด้วยวิทยาการ ไม่ใช่ด้วยจินตนาการ

ถ้าเราคิดว่า 2 แนวทางนั้นเป็นสิ่งที่ถูกต้อง ชัดเจน ดร.สมคิดชวนให้หันมาพิจารณาขั้นต่อไป คือ มาดูว่าจุดแข็งในสิ่งเหล่านั้นประเทศไทยมีหรือไม่ โดยได้แสดงข้อมูลเป็นตัวอย่างบางส่วนเพื่อให้เห็นว่าตอนนี้ประเทศไทยอยู่ที่ไหน

ข้อมูลที่ว่านั่นคือ การจัดอันดับขีดความสามารถของประเทศ

ซึ่งล่าสุดอยู่อันดับที่ 36 จากเดิมอยู่ที่ 34 และในอดีตเราเคยสูงสุดอยู่อันดับที่ 30 ตอนนี้มาเลเซียอยู่เหนือเรา และถ้าเราต้องปรับ

โครงสร้างเศรษฐกิจเป็นนวัตกรรม ดัชนีที่เกี่ยวข้องนั้นต้องดูที่คุณภาพของระบบการศึกษา ซึ่งเราอยู่อันดับที่ 67 เริ่มอยู่ในระดับเดียวกับเวียดนาม รวมถึงตัวอื่น ๆ จะเห็นว่ามาเลเซียอยู่เหนือเราเกือบทั้งหมด ที่แย่กว่านั้นคือ บางเรื่องเวียดนามก็แซงหน้าเราไปแล้ว

ข้อมูลดังกล่าว ดร.สมคิดเตือนว่า เขาอาจจะผิด แต่เราต้องฟังเพื่อจะบอกว่าสิ่งเหล่านี้คือหัวใจในอนาคต เพราะฉะนั้นงบประมาณการจัดสรรข้างหน้าต้องทุ่มเทให้ความสำคัญกับสิ่งเหล่านั้น

จากนั้น ดร.สมคิดได้ชี้ให้เห็นการจัดสรรงบประมาณซึ่งน่าตกใจมาก คือว่าเมื่อปี 2544 เรามีงบประมาณรายจ่าย 9.1 แสนล้านบาท แต่ 10 ปีให้หลังในปี 2554 งบประมาณรายจ่ายเพิ่มขึ้นมาเป็น 2 ล้านล้านบาท หรือ 2 เท่าตัว แต่สิ่งที่เราจะต้องมองเรื่องบริหารจัดการ คือ งบฯประจำที่สัดส่วนในปี 2544 มีงบประมาณอยู่ที่ 74.4% และมีงบฯลงทุน 24% แต่ 10 ปีให้หลังงบประมาณเพิ่มขึ้น 2 เท่า แต่งบฯประจำเพิ่มขึ้นอีก 10% เป็น 80% แต่งบฯลงทุนลดลงมาจาก 24% เหลือแค่ 12.6% ถือเป็นปัญหามาก

เมื่อไปดูยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณปี 2554 จะเห็นว่า ยุทธศาสตร์การรักษาความมั่นคงของรัฐเอาไปแล้ว 1.6 แสนล้านบาท หรือประมาณ 9% ของงบประมาณรายจ่าย อันนี้เป็นมหาอำนาจของโลก อย่างจีนอยู่ที่ประมาณ 7.5% ของจีดีพี (อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ) ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม 6.24 แสนล้านบาท ประมาณ 30% อันนี้เป็นสิ่งที่ต้องทุ่มเทถ้าต้องการสร้างความ

เท่าเทียมของสังคม ขณะที่ยุทธศาสตร์การจัดการเศรษฐกิจให้ขยายตัวและลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมมีงบประมาณ 2.19 แสนล้านบาท หรือ 10.6% เกือบเท่าความมั่นคงของรัฐมากกว่ากันนิดเดียว

ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 1.85 หมื่นล้านบาท หรือ 0.9% และมีตัวเลขอีกตัวหนึ่งเรื่องการใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศ เมืองไทยอยู่ที่ 0.2% แต่ตามมาตรฐานสากลอยู่ที่ 0.25-1% โดยมาเลเซียอยู่ที่ประมาณกว่า 3% เกาหลีใต้ 3% และมีเป้าหมายจะเพิ่มให้เป็น 4-5% ส่วนยุทธศาสตร์การต่างประเทศและระหว่างประเทศ ซึ่งวันนี้คือหัวใจ แต่มีสัดส่วนงบประมาณเพียง 8.1 พันล้านบาท หรือมีสัดส่วน 0.4% ของงบประมาณรายจ่าย

ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีได้งบประมาณ 3.04 แสนล้านบาท นี่คือหัวใจเพราะในงบฯ 3 แสนล้านบาทมีงบฯสำหรับแผนงานการกระจายอำนาจ 1.29 แสนล้านบาท และนี่คือเหตุผลที่ ดร.สมคิดย้ำว่า การแบ่งเป็นคลัสเตอร์ การเชื่อมโยงระหว่างส่วนกลาง องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นองค์การบริหาร

ส่วนจังหวัด (อบจ.) องค์กรบริหารส่วนตำบล (อบต.) และเทศบาล ไล่ไปถึงชุมชน จำเป็นต้องมียุทธศาสตร์เชื่อมโยงไม่เช่นนั้นงบประมาณในส่วนนี้จะถูกใช้สิ้นเปลืองมาก ๆ

ขณะที่รายการค่าดำเนินงานภาครัฐ ใช้งบประมาณ 5.09 แสนล้านบาท แต่ถูกจัดสรรไปเรื่องแผนการบริหารบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายประจำถึง 2.12 แสนล้านบาท เกือบครึ่งหนึ่ง แปลว่าค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่อยู่ที่ค่าจ้างแรงงานข้าราชการ ส่วนแผนงานบริหารนี้ของรัฐมีงบประมาณ 2.16 แสนล้าน หรือเกือบ 10% ของ

จีดีพี และเกือบครึ่งหนึ่งของค่าใช้จ่ายดำเนินงานของรัฐ ตรงนี้ถ้าเพิ่มขึ้นจะยิ่งบีบไปเอาค่าใช้จ่ายเพื่อสังคม และการใช้จ่ายเพื่อเศรษฐกิจ

ดร.สมคิดบอกว่า พอดูตัวเลขเหล่านี้จะรู้ว่ามีเงินก้อนหนึ่งแต่ใช้เพื่อพัฒนาสังคมมีแค่ 30% ใช้ด้านเศรษฐกิจเรื่องของการปรับโครงสร้างมีประมาณ 10% แต่เมื่อมาดูการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ 10% พบว่าจะลงไปตามกระทรวงต่าง ๆ แล้วข้าราชการกระทรวงเสนอโครงการขึ้นมา ไม่มียุทธศาสตร์เลยว่าเราจะไปทางไหนอย่างไร ทำให้เงินเพียงแค่ 10% จะถูกกระจายไปโครงการนู้น โครงการนี้ตลอดเวลา

"สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาหรือไม่" ดร.สมคิดตั้งคำถาม เมื่อดูต่อไปในงบประมาณ 2 ล้านล้านของปี 2554 ดร.สมคิดบอกว่า ความสามารถยืนด้วยขาตัวเอง หรือความสามารถจัดเก็บรายได้มีแค่ 1.65 แสนล้านบาท แปลว่ารายได้หาได้แค่นี้ ที่เหลือต้องกู้ โดยตัวเลขกระทรวงการคลังชัดเจนว่ารายจ่ายเพิ่มขึ้นโดยตลอด 10 ปี แต่รายได้รายรับที่ผ่านมา 5 ปีที่แล้วโตปีละ 17-18% ตอนนี้รายได้โตประมาณปีละ 14-15%

เพราะฉะนั้น ความสามารถในการทำรายได้โตไม่ทันจีดีพี และขอบเขตเพดานการหารายได้ก็มีน้อยลง ถ้าเป็นแนวโน้มแบบนี้แล้วเราไม่พยายามปรับปรุงหรือปฏิรูปรัฐบาล แปลว่ามันไม่ได้เกิดในรัฐบาลนี้ แต่มันจะไปเกิดกับยุคข้างหน้าแน่นอน

ดร.สมคิดบอกว่า ประมาณปี 2541 รัฐบาลกู้มาตลอด และในปี 2548-2549 คืองบประมาณสมดุล ไม่กู้เลย ตอนนั้นคืนเงินกู้กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) และเป็นงบประมาณสมดุล แต่พอปี 2550 ไล่มาปี 2554 ยอดการกู้เงินเพิ่มขึ้นพอสมควร โดยมีสัดส่วนต่องบประมาณรายจ่ายจาก 9.3% ในปี 2550 ขึ้นมาเป็น 20.3% ของรายจ่ายรัฐบาล ถือว่าค่อนข้างเยอะ

อย่างไรก็ตาม ดร.สมคิดยอมรับว่า เรื่องก่อหนี้ไม่ว่ากัน เพราะแต่ละยุคสมัยมีสถานะไม่เหมือนกัน เพียงแต่จะชี้ให้ดูว่าเราต้องดูให้ดี คืองบฯประจำสูงตลอด งบฯลงทุนหดตลอด และเมื่อปี 2549 งบฯเศรษฐกิจมีสัดส่วน 23% ตอนนี้ประมาณ 10% นับว่าน้อยมาก

ดังนั้น ถ้าไม่มีทิศทางยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน งบประมาณที่มีจำกัดจะถูกใช้ไปเรื่อย ๆ ขณะที่ด้านเงินกู้ถ้าไม่สามารถสร้างรายได้ให้สูงพอไม่ทันก็ต้องกู้เพิ่ม ในงบประมาณปี 2549 หนี้สาธารณะต่อ

จีดีพีอยู่ที่ 41% ต่อจีดีพี จากนั้นลดลงมาก 38% และตีขึ้นไปใหม่ ล่าสุดอยู่ที่ 42.5% ณ พ.ค. 2553 และถ้ากู้จนครบ 400,000 ล้านบาทในปี 2554 ก็แปลว่าหนี้สาธารณะจะขึ้นมาสู่ 50% ในไม่ช้า และถ้าไม่มีการควบคุมดูแลก็จะขึ้นมาชนเพดาน 60% ในอนาคตข้างหน้า

ดร.สมคิดแสดงความเป็นห่วงว่า ถ้าเรามีข้อจำกัดเรื่องงบฯลงทุน มีข้อจำกัดเรื่องงบฯพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม มีข้อจำกัดเรื่องการกู้ เรื่องภาระหนี้ ก็หมายความว่าต้องตัดสินใจในระยะยาวว่า ถ้าเราจะต้องใช้จ่ายเพื่อพัฒนาให้มากขึ้น จะต้อง "ปฏิรูปการคลัง" ณ วันนี้

โดยจะจัดระเบียบการใช้จ่ายอย่างไร ยุทธศาสตร์ต้องมีจะใช้อะไรก่อนหลัง ไม่ใช่พรรคใครเสียงเยอะก็ได้ใช้เยอะ นั่นคือเพื่อเสถียรภาพรัฐบาล ไม่ใช่เพื่ออนาคตประเทศไทย ส่วนเรื่องของ

รายได้ต้องตัดสินใจ ถ้าต้องใช้ลงทุนเยอะ แปลว่าตัวรายได้จะเข้ามา ฐานภาษีรัฐจะเอาอย่างไร การปรับปรุงโครงสร้างภาษีต้องตัดสินใจ และเรื่องของรายจ่าย เรื่องการให้สิทธิพิเศษทางภาษีของสำนักงานส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ซึ่งให้สิทธิพิเศษทั้งหมด ต้องลดให้หมด แล้วดูว่าอนาคตจะไปสู่จุดไหน ตัวไหนจะให้ ตัวไหนจะไม่ให้

"เพราะฉะนั้น เราเลิกเถียงกันว่า กระทบหรือไม่กระทบ มันมีบุญเก่าให้ใช้ไม่มาก แต่อนาคตข้างหน้าอยู่ที่วันนี้"

หน้า 2

เรื่องอื่นน่าสนใจ - ขยายฐานภาษีปี 54 - 
http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=310&contentID=84851 

ไทยกระจายรายได้อันดับแย่ของโลก ทั้งปท.เสียภาษีแค่2.3ล้านคน -
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1282269234&grpid=&catid=05

- คลังลุยรื้อภาษีมุ่งลดเหลื่อมล้ำ -http://www.thannews.th.com/index.php?option=com_content&view=article&id=51718:2010-12-29-02-17-49&catid=85:2009-02-08-11-22-45&Itemid=417


Page 1/1
1
Copyright © 2005 www.teinpun.com Allrights Reserved.
Powered By www.Freethailand.com