Home | Service | News | เว็บบัญชี ที่น่าสนใจ | สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้างและนายจ้าง ตามกฎหมายแรงงาน | Easy_acc for Windows | Link Ranong | แบบจำลองการเริ่มต้นธุรกิจ SME | อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ เริ่มใช้ 1 มิถุนายน 2551 | การหักภาษี ณ ที่จ่าย | สำนักงานประกันสังคม | การยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ต | รู้เรื่องภาษี | รวมแบบฟอร์ม หนังสือสัญญาต่าง ๆ บริการฟรี | ศัพท์บัญชี | การยื่นงบการเงิน | สัมมนาที่น่าสนใจ ปี 2549 จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า | บิซิเนสไทย | ถาม-ตอบ เกี่ยวกับภาษีอากร จากกรมสรรพากร | ถาม-ตอบ ยื่นแบบ/ชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต | ข้อหารือภาษีอากร จากกรมสรรพากร | เกร็ดความรู้ทางธุรกิจ | การจำหน่ายหนี้สูญที่เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม | เงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี | วางแผนการเงิน 6 แผนการเงินที่ควรทำ


Category
   ความเป็นมา
   แผนยุทธศาสตร์กรมสรรพากร พ.ศ.2548-2551
   หน้าที่สำหรับผู้ประกอบการรายใหม่
   สมุดบัญชีที่ผู้ทำบัญชี ต้องจัดทำ ตาม พรบ.การบัญชี พ.ศ.2543
   เอกสารที่ต้องนำส่งเมื่อถูกเรียกตรวจสอบ จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   ข้อควรระมัดระวังในการเลือกผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี
   ข้อควรปฏิบัติ เมื่อกิจการถูกตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้
   สำนักงานบัญชี เปลี่ยนไป
   สำนักงานบัญชีไทย V.S. ยุโรป,อเมริกา
   เตรียมรับมือสรรพากรอย่างไร?
   การยกเลิกใบกำกับภาษี แล้วออกฉบับใหม่ ทำอย่างไร?
   การออกใบแทนใบกำกับภาษี ฉบับที่สูญหาย ทำอย่างไร?
   หน้าที่ตามกฎหมายของผู้เสียภาษีอากร
   เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไร?
   เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับสำนักงานบัญชียุคพัฒนา
   กรมสรรพากรให้บริการไอที Web Services ถึง 8 รายการ
   การแจ้งเปลี่ยนแปลงจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
   สิทธิตามกฎหมายของผู้เสียภาษีอากร
   ใครบ้าง ที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีอากร
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 1
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 2
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 3
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 4
   ราชการใสสะอาด - วินัย/จรรยาบรรณ
   ดีเอสไอ. จับหนุ่มโกงภาษี
   บทความที่น่าสนใจจาก เว็บนักบัญชี.คอม
   แผนที่ชีวิตของคุณ?
   ถนอมสุขภาพตาอย่างไร เมื่ออยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ
   เลือกซอฟท์แวร์อย่างไร สำหรับ SMEs
   การเสียเบี้ยปรับ ในกรณียื่นแบบ ภพ.30 เอง
   อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม,ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั่วโลก
   การจัดตั้งคณะบุคคลทำอย่างไรบ้าง?
   การวางแผนภาษี เลือกจัดตั้งองค์กรธุรกิจ อย่างไรจึงเหมาะสม
   ค่าจดทะเบียนพาณิชย์, ห้างหุ้นส่วน และ บริษัทจำกัด
   ขั้นตอนการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด ทางอินเตอร์เน็ต
   คำเตือนในการนำส่งงบการเงินประจำปีของห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด
   กรณีศึกษา - หมึกแดงกับการวางระบบบัญชีที่ตรวจสอบได้
   การขอเพิ่มสิทธิ์การติดตั้งโปรแกรม EASY_ACC
   คำแนะนำการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ฯ สำหรับการจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพพิเศษจากกรมสรรพากร
   พรบ.การบัญชี 2543 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี
   การหักภาษี ณ ที่จ่าย
   เลขทะเบียนนิติบุคคลใหม่ 13 หลัก
   กลยุทธ์การป้องกันการถูกยึดกิจการ
   5 สัญญาณเตือนไทย ระวังการควบรวมกิจการ
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้าให้บริการคัดสำเนาหนังสือรับรองผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต
   สัมมนาหลักสูตรพื้นฐานสำหรับพัฒนาสำนักงานบัญชี ปี 2549
   โครงการอบรมนิติบุคคลที่จดทะเบียนใหม่ ปี 2549 (ฟรี)
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพผู้ประกอบการ
   อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล เปลี่ยนแปลงเมื่อไร?
   เตือนผู้ทำบัญชี แจ้งการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
   การคำนวณเงินตราต่างประเทศเป็นเงินตราไทย ตามประมวลรัษฎากร
   อบรมเริ่มต้นธุรกิจแบบมืออาชีพ
   อัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2549
   การบริหารร้านค้าปลีกแบบมืออาชีพ
   การสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง
   การทำความเข้าใจกับลูกค้า
   คำอธิบายระหว่าง RMF. และ LTF.
   RMF. & LTF. (2)
   RMF. & LTF. (3)
   RMF. & LTF. (4)
   RMF. & LTF. (5)
   RMF. & LTF. (6)
   กลุ่มบุคคลแอบอ้างเป็นสรรพากรเรียกรับผลประโยชน์ในทางมิชอบ
   แบบสอบถามความเห็น การปรับปรุงการหักค่าใช้จ่ายเงินได้พึงประเมิน
   เปิดเว็บไซต์ ฟรี กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   5 อุปนิสัยในการประมวลผลที่ดี
   กิจวัตรประจำวัน และ จำนวนวันที่มีในชีวิตของคนเรา
   เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (1)
   เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (2)
   ปรับตัว/เตรียมใจอย่างไร? หากเกิดการเลย์ออฟ
   จดแล้วไม่จนจริงหรือ?
   สิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง
   โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่
   หน่วยงานที่ให้บริการแก่ธุรกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง SME
   เตือนให้ส่งงบการเงินปี 2548 ภายใน 31 พฤษภาคม 2549
   ภาษีมูลค่าเพิ่ม,ภาษีเงินได้ กรณีขายบัตรเงินสด
   คำถาม-ตอบในการสัมมนา "การยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต"
   ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการเฉลี่ยภาษีซื้อ
   กรมสรรพากรจัดสัมมนาภาษีอากร ฟรี
   การตัดมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่ของทรัพย์สินที่สูญหายหรือชำรุดใช้งานไม่ได้
   กรณี - ความผิดการใช้ใบกำกับภาษีปลอม และพิสูจน์ผู้รับเงินไม่ได้
   อัตราค่าปรับยื่นงบการเงินปี 2554 ล่าช้า (เริ่มใช้ เมษายน 2555)
   อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ใช้ทั่วประเทศ - กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   กรณีย้ายสถานประกอบการ ใบกำกับภาษีฉบับเดิมยังใช้ได้หรือไม่
   กรณีซื้อสินค้าหรือรับบริการแล้ว ผู้ขายไม่ออกหลักฐานการรับเงินให้ จะทำอย่างไร?
   วางแผนภาษีกับ การลงทุนใน RMF. & LTF.
   การวางแผนภาษี นั้นสำคัญไฉน??
   คำชี้แจงเกี่ยวกับการยื่นงบการเงิน
   การอัพเกรด Easy_Acc for Windows
   ประโยชน์ของการจัดทำบัญชี
   ประเด็นความผิดเกี่ยวกับใบกำกับภาษี ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
   ร่าง พรบ.ของแถมของรางวัล
   สปส. ประกาศกฎกระทรวง เพิ่มคุ้มครอง 6 โรคเรื้อรัง
   ผู้ประกันตน ตาม ม.39 สิ้นสภาพ อย่าลืมรับเงินออม
   สิทธิและหน้าที่ที่ผู้ทำประกันภัยรถยนต์ควรรู้
   ภาษีเงินได้ที่ต้องเสีย - น้องเดียว
   กรณีศึกษา - ภาษีน่ารู้
   เคล็ดลับหาเงินทุน บุกเบิกธุรกิจด้วยตนเอง
   ถึงเวลายื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปีแล้ว (ภงด.94/49)
   ให้บริการยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต
   การวางแผนการเงินส่วนบุคคล
   กรณีศึกษา - การส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายแทนกัน
   กรณีศีกษา - รายรับถึงเกณฑ์ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แล้วไม่จด ต้องเสียเบี้ยปรับ/เงินเพิ่ม
   กรณีศึกษา - นายจ้างจ่ายค่าเบี้ยประกันให้พนักงาน
   ดับค้าปลีกต่างชาติในเยอรมัน-เกาหลี
   เสียภาษีอย่างไรให้ประหยัด
   เทคนิคการเลือก "กองทุน"
   บริษัท/ห้างฯ ที่จดทะเบียนใหม่จะต้องทำอะไรบ้าง?
   การเลือกซื้อกองทุน LTF
   การทำกิจการ "ค้าของเก่า"
   โครงการอบรมนิติบุคคลที่จดทะเบียนใหม่ ปี 2550 (ฟรี)
   รายชื่อผู้สอบบัญชีภาษีอากรทั้งหมด และที่ถูกพักใบอนุญาต
   เกณฑ์การรับรู้รายได้ รายจ่ายทางภาษีอากร (เกณฑ์สิทธิ) เริ่มใช้ 1 มกราคม 2550
   ภาษีซื้อห้ามขอคืน แต่ถือเป็นค่าใช้จ่ายได้
   SMEs เสียภาษีสรรพากรอย่างไร?
   สิทธิของผู้ประกันตน กรณีว่างงาน
   ผู้มีเงินได้บุคคลธรรมดา จะต้องทำบัญชีหรือแสดงรายได้เพื่อเสียภาษีอย่างไร?
   หลากกฎเตือนใจช่วยประหยัด-ฉลาดจ่าย
   กลยุทธ์ปั้นธุรกิจสู่เส้นชัย จาก 5 บริษัทชั้นนำระดับโลก
   กานต์ ตระกูลฮุน บ่มภาวะผู้นำ "คนปูน"
   ขอคืนภาษี โดยไม่สุจริต ระวังติดคุก?
   ข้อแตกต่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน/บริษัท ปี 2538 กับ 2549
   หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่
   หลักเกณฑ์การใช้สิทธิซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว
   หลักเกณฑ์การใช้สิทธิซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อเลี้ยงชีพ
   ปรัชญานายห้างเทียม
   คดีภาษีขึ้นศาลภาษีอากรกลาง เพิ่มขึ้น 100%
   ภาษีมรดกในประเทศไทย
   ค่าลดหย่อนการศึกษาของบุตรตามกฎหมายภาษีไทย
   ผู้มีเงินได้ที่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.90,91 และ 94
   วิธีการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล - ภงด.50 และ ภงด.51
   วางแผนการเงินให้ครอบครัวเภสัชกร
   ช่วยผู้บริหารสานสัมพันธ์ ผูกมิตรกับพนักงานระดับล่าง
   เงินได้ของแพทย์เสียภาษีอย่างไร?
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เตือนให้ยื่นงบการเงินปี 2549 ภายใน 1 มิถุนายน 2550
   เมื่อจดทะเบียนเลิกบริษัท/ห้างฯ แล้ว จะต้องชำระบัญชีเมื่อไร?
   ก่อนเริ่มต้น ทำพาณิชย์อีเล็กทรอนิกส์
   ข้อชี้แนะในการเลือกนักบัญชี (สำนักงานบัญชี)
   กรณีขายน้ำผลไม้สดคั้น
   ปฏิวัติ พ่อแม่
   The Future of Accounting
   สรรพากรเอกซเรย์ทั่วประเทศ ผงะใบกำกับภาษีปลอม500ล.
   อยากให้ลูกเรียนกฎหมาย
   การลงทุนในเวียตนาม
   ถึงเวลาแล้ว ต้องยื่น ภงด.50 รอบปีบัญชี 2550 แล้ว
   สิทธิประโยชน์ทางภาษี ของผู้ส่งออกที่ดี
   ค่าตอบแทนที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณมูลค่าของฐานภาษี
   พิธีการศุลกากร การนำเข้า-ส่งออกสินค้ากับพม่า
   สรรพากรจะให้ร้านค้าใช้เครื่องเก็บเงินในปีหน้า
   ภาษีมูลค่าเพิ่มอัตรา 7% ใช้ถึง 30 กันยายน 2551
   สรรพากรเอาผิดผู้หลีกเลี่ยงภาษีอากรหรือขอคืนภาษีเป็นเท็จ
   ระวัง มิจฉาชีพ อ้างเป็นเจ้าหน้าที่สรรพากรทางโทรศัพท์
   ลูกจ้างควรวางแผนภาษีเงินได้อย่างไร
   คำถามยอดนิยมจากเว็ปกรมสรรพากร
   สวนดุสิตโพลล์ชี้ผลวิจัยล่าสุด บัญชี แพทย์ บริหาร คอมฯ วิศวะ ครองแชมป์ได้งานสูง
   ถอนทะเบียนบริษัทร้าง 4,216 ราย
   สัมมนา "เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสำนักงานบัญชี
   หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรองคุณภาพสำนักงานบัญชี พ.ศ.2550
   เตือนผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชียื่นงบการเงินประจำปี 2550
   มาตรการภาษี กระตุ้นเศรษฐกิจใช้บังคับปีภาษี 2551
   รายงานที่ต้องจัดทำในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
   ระเบียบใหม่ - การจัดประชุมผู้ถือหุ้นต้องประกาศทางหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่
   การเสียภาษีธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ใหม่
   จัดตั้งบริษัทจำกัดได้ภายในวันเดียว เริ่ม 1 กรกฎาคม 2551
   กฎหมายใหม่สำหรับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เริ่มใช้ 1 มกราคม 2551
   สรุปประเด็นข้อผิดพลาดในการตรวจสอบของผู้สอบบัญชี
   ฏีกาภาษี ประเด็นมาตรา 40 (2) หรือ 40 (8)
   เงินได้นอกจากเงินเดือน ได้รับยกเว้นภาษีตามมาตรา 48 (2)
   ด่วน.... สัมนาภาษีอากร ฟรี กับกรมสรรพากร
   ภาษีที่เกี่ยวกับการขายอสังหาริมทรัพย์
   ภาษีที่ดิน
   การลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม 6 เดือน
   สรรพากรไล่บี้สำนักงานบัญชี และผู้ประกอบการที่เลี่ยงภาษี
   เป้าเก็บภาษีปี 2553 - กรมสรรพากร
   กรมสรรพากร - เตือนผู้ทำบัญชีระมัดระวังในการจัดทำงบการเงิน
   การวิเคราะห์ภาระภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม และการขยายฐานภาษี
   งบการเงิน ใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552
   อัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ เริ่ม 1 มกราคม 2553
   มีอะไรใหม่ ในการยื่นชำระภาษีปี 2552 (ภงด.90 / 91)
   หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นงบการเงิน พ.ศ.2553 - ใหม่
   ข้อบกพร่องในการรับงบการเงิน ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   สัมมนาฟรี เรื่อง "เตือนไว้อย่าใสซื่อ กับภาษีซื้อต้องห้าม"
   ขยายเวลา การยื่นงบการเงิน ปี 2552 (3 เขต ใน กทม.)
   กรณีการเสียภาษีเพิ่มขึ้น เมื่อเงินได้ภรรยา ยื่นรวมกับสามี
   สัมมนาฟรี "เตือนไว้อย่าใสซื่อ กับภาษีซื้อต้องห้าม"
   สัมมนาฟรี "ฝ่าวิกฤต พิชิตปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล"
   คัดสำเนาหนังสือรับรอง, เอกสารการจดทะเบียน และงบการเงินทาง e_Service
   การทำธุรกรรมทางออนไลน์ เสียภาษีหรือไม่?
   สำนักงานบัญชี ที่ต้องวางหลักประกันความรับผิดต่อบุคคลที่สาม 3%
   "สมคิด" เสนอปฏิรูปการคลัง ก่อนทุกอย่างจะสายเกินไป
   สัมมนาฟรี "ลด แลก แจก แถม อย่างไร สบายใจ เรื่องภาษี"
   สรรพากรรื้อใหญ่ขยายฐานรายได้ ไม่เน้นขึ้นภาษี หันเก็บทั่วถึง-เป็นธรรม
   สรรพากรประกาศนโยบาย BIG CHANGE ตั้งเป้าปี54 เก็บภาษี 1.3 ล้านล้าน
   บริหารภาษีอย่างถูกวิธี - น่าสนใจ จริง ๆ
   ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป
   ข้อควรทราบเกี่ยวกับการขายอสังหาริมทรัพย์ มีอะไรบ้าง?
   มาตราการภาษีที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
   คลังลุยรื้อภาษีมุ่งลดเหลื่อมล้ำ
   โค้งสุดท้าย ซื้อ RMF/LTF ประหยัดภาษีปี 2553
   ชง ครม. เรียกเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชา รัฐได้เพิ่ม 4,000 ล้านบาท
   การจัดทำบัญชีอย่างง่าย ของ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   กำไรจากการขาย LTF
   สรรพากรเตือนผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องยื่นแบบ ภงด.90/91
   ประเด็นความผิดที่ตรวจพบในงบการเงินของกรมสรรพากร
   เตรียมลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เริ่ม 1 มค.2555
   กรมสรรพากร - คู่มือประชาชน
   แนวปฏิบัติของผู้เสียภาษ๊ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติอุทกภัย 2554
   บริการ 3 กรมภาษี กระทรวงการคลัง
   กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554
   ประกันสังคม ลดอัตราเงินสมทบนายจ้างและผู้ประกันตน จาก 5% เหลือ 3% และ 4%
   ผู้หญิงเฮ ! แยกยื่นเสียภาษีกับสามี จ่ายน้อยลง ผลงานโบว์แดงผู้ตรวจการแผ่นดิน ???
   1 กุมภาพันธ์ 2555 เริ่มใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 13 หลัก
   ขอหนังสือรับรองจดทะเบียนหุ้นส่วน/บริษัท ผ่านธนาคาร ได้แล้ว
   กรณีกรมสรรพากรให้หักค่าลดหย่อนค่าซ่อมบ้านและค่าซ่อมรถเนื่องจากน้ำท่วม ปี 2554
   กรมสรรพากร ให้ยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต มากขึ้น
   ค่าจ้างแรงงานต่อวัน เริ่มใช้ 1 เมษายน 2555 เป็นต้นไป
   ผู้หญิงมีสามีเฮ! ศาลรธน.ตัดสินกม.สรรพากรขัดรัฐธรรมนูญ แยกยื่นภาษีได้-จ่ายน้อยลง-ไม่ต้องหย่าแล้ว
   ข่าวกรมสรรพากรที่น่ารู้
   แนวปฏิบัติการเสียภาษีสามี-ภรรยา แยกกันยื่นแบบทุกภาษี เริ่มปีภาษี 2555 เป็นต้นไป
   การยื่นแบบแสดงรายการภาษี และยื่นแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย ตามประกาศของ ป.ป.ช. เริ่ม 1 เมษายน 2555
   ระเบียบใหม่ การจัดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจำกัดและบริษัทจำกัด เริ่มใช้ 2 มกราคม 2556 เป็นต้นไป
   แนวปฏิบัติการเสียภาษีเงินได้ กรณีสามีภรรยา (ฉบับใหม่) เริ่มใช้ 14 มกราคม 2556
   ขยายเวลาการใช้เลขภาษี 10 หลัก ถึง 31.7.2556
   คำแนะนำในการยื่นบัญชีแสดงรายรับ-รายจ่ายของโครงการ ตาม (บช.1)
   สิทธิประโยชน์ทางภาษีบุคคลธรรมดา ปี 2556 .....ใหม่ล่าสุด
   เพิ่มข้อความ "เลขภาษี 13หลัก" และ "สาขาที่ออกใบกำกับภาษี" ลงในใบกำกับภาษีขาย และใบกำกับภาษีซื้อ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2557
   สัมมนา ฟรี กับสรรพากร (ครึ่งวัน ในวันที่ 5-6 สิงหาคม 2556 จำนวน 4 รอบ)
   ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ฉบับที่..... มาตรการปรับปรุงโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาฯ เริ่มใช้ 1 มค.2556
   การลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปี 2556
   ข้อความอื่นในใบกำกับภาษี ที่จะเริ่มใช้ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป
   สามีภรรยาร่วมกันทำการค้าถ้ารายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องจด VAT
   หลักเกณฑ์การประกาศให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล
   หสม. หรือ คณะบุคคล ตามกฎหมายใหม่ เริ่ม 1 มกราคม 2558
   ขยายกำหนดเวลาการยื่นแบบทางออนไลน์ของกรมสรรพากรไปถึง มค.2560
 
Webboard
  Site Board
 
New Update
สำนักงานบัญชี
1. ให้บริการวางระบบบัญชีของธุรกิจ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี&lt;br&gt;<br>

2. ให้บริการจัดทำบัญชี และรายงานผลการดำเนินธุรกิจเป็นรายเดือน ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี EASY_ACC&lt;br&gt;<br>

3. ให้บริการและให้คำแนะนำในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี <br>

ได้แก่ ภพ.30 ภงด.1,3,53,50,51,90,91,94 ทางอินเทอร์เน็ต ให้บริการแก่ผู้ประกอบการได้ทุกจังหวัดทั่วประเทศ ประหยัดเวลา ไม่ต้องเสียเวลารอและการเดินทางของพนักงานสำหรับการยื่นแบบและชำระภาษี &lt;br&gt;<br>

4. ให้บริการตรวจสอบการเสียภาษีเงินได้, ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฯ ก่อนการ เข้าตรวจสอบของเจ้าพนักงาน&lt;br&gt;<br>

5. จัดทำบัญชีและส่งมอบเอกสารบัญชี, สมุดบัญชีให้ผู้ประกอบการเก็บไว้ตาม พรบ.การบัญชี &lt;br&gt;<br>

สอบถามได้ที่ 077-811694, แฟ็กซ์ 077-813156หรือ E_mail :<a href=mailto:info@teinpun.com>info@teinpun.com</a>; &amp;:<a href=mailto:teinpun@yahoo.com>teinpun@yahoo.com</a>;
 

Online: 001
Visitors : 79112

เพิ่มข้อความในใบกำกับภาษี เลื่อนไปเริ่มใช้ 1 มค.2558 เป็นต้นไป

 

กรมสรรพากร เลื่อนการเพิ่มข้อความ "เลขภาษี 13หลัก" และ "สำนักงานใหญ่" หรือ "สาขาที่....." ออกไปเป็น 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป  (ผู้เสียภาษีที่พร้อมแล้วจะเริ่ม 1 มค.2557 ก็ได้ครับ)

(อ้างถึงประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบบที่ 202) ดูที่นี่ -http://www.rd.go.th/publish/27985.0.html  และ (ฉบับที่ 199) ดูที่นี่

-http://www.rd.go.th/publish/27982.0.html

(รายงานภาษีขาย และภาษีซื้อ แบบใหม่ล่าสุด อยู่ท้ายประกาศ ฉบับที่ 202)

 

 

2558255825582558255825582558255825582558255825582558255825582558255825585228

 

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๑๙๕)
เรื่อง กำหนดข้อความอื่นในใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๖/๑๐ (๗) แห่งประมวลรัษฎากร
__________________________________

 


อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 86/10 (7) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๓๐) พ.ศ. ๒๕๓๔ อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดข้อความอื่นในใบลดหนี้ ดังต่อไปนี้

 

ข้อ ๑ กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ได้ขายสินค้าหรือให้บริการและได้ออกใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งเป็นใบกำกับภาษีที่ได้จัดทำขึ้นตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป และต่อมาได้ออกใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๖/๑๐ แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งอ้างอิงใบกำกับภาษีฉบับดังกล่าว ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบลดหนี้จะต้องระบุข้อความดังต่อไปนี้ ไว้ในใบลดหนี้ด้วย
(๑) เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ
(๒) ข้อความรายการเกี่ยวกับสถานประกอบการตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.๒๐) ของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ได้ขายสินค้าหรือให้บริการซึ่งเป็นผู้ออกใบลดหนี้ ดังนี้
(ก) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นผู้ออกใบลดหนี้ ได้ออกใบลดหนี้โดยอ้างอิงใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร โดยใบกำกับภาษีดังกล่าวได้ระบุสถานประกอบการของผู้ออกใบลดหนี้เป็นสำนักงานใหญ่ไว้ในใบกำกับภาษีนั้น ให้ระบุข้อความว่า “สำนักงานใหญ่” ซึ่งเป็นสถานประกอบการของผู้ออกใบลดหนี้ตามที่ปรากฏในใบกำกับภาษีนั้นไว้ในใบลดหนี้ดังกล่าวด้วย
(ข) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นผู้ออกใบลดหนี้ ได้ออกใบลดหนี้โดยอ้างอิงใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร โดยใบกำกับภาษีดังกล่าวได้ระบุสถานประกอบการของผู้ออกใบลดหนี้เป็น “สาขาที่ ..” ไว้ในใบกำกับภาษีนั้น ให้ระบุข้อความว่า “สาขาที่ ..” ซึ่งเป็นสถานประกอบการของผู้ออกใบลดหนี้ตามที่ปรากฏในใบกำกับภาษีนั้นไว้ในใบลดหนี้ดังกล่าวด้วย
(๓) ข้อความรายการเกี่ยวกับสถานประกอบการตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.๒๐) ของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ได้ซื้อสินค้าหรือรับบริการซึ่งเป็นผู้รับใบลดหนี้ ดังนี้
(ก) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นผู้ออกใบลดหนี้ ได้ออกใบลดหนี้โดยอ้างอิงใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร โดยใบกำกับภาษีดังกล่าวได้ระบุสถานประกอบการของผู้รับใบลดหนี้เป็นสำนักงานใหญ่ไว้ในใบกำกับภาษีนั้น ให้ระบุข้อความว่า “สำนักงานใหญ่” ซึ่งเป็นสถานประกอบการของผู้รับใบลดหนี้ตามที่ปรากฏในใบกำกับภาษีนั้นไว้ในใบลดหนี้ดังกล่าวด้วย
(ข) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นผู้ออกใบลดหนี้ ได้ออกใบลดหนี้โดยอ้างอิงใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร โดยใบกำกับภาษีดังกล่าวได้ระบุสถานประกอบการของผู้รับใบลดหนี้เป็น “สาขาที่ ..” ไว้ในใบกำกับภาษีนั้น ให้ระบุข้อความว่า “สาขาที่ ..” ซึ่งเป็นสถานประกอบการของผู้รับใบลดหนี้ตามที่ปรากฏในใบกำกับภาษีนั้นไว้ในใบลดหนี้ดังกล่าวด้วย

ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป
 


ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

 

สาธิต รังคสิริ
(นายสาธิต รังคสิริ)
อธิบดีกรมสรรพากร

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๑๙๖)
เรื่อง กำหนดข้อความอื่นในใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ (๘) แห่งประมวลรัษฎากร
__________________________________

 

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘๖/๔ (๘) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๓๐) พ.ศ. ๒๕๓๔ อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดข้อความอื่นในใบกำกับภาษี ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๗ ข้อ ๘ และข้อ ๙ ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๓๙) เรื่อง กำหนดข้อความอื่นในใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ (๘) แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๑๘๖) เรื่อง กำหนดข้อความอื่นในใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ (๘) แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
“ข้อ ๗ ในกรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนได้จัดทำใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ผู้ประกอบการจดทะเบียนจะต้องระบุเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการไว้ในใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากรนั้น โดยข้อความดังกล่าวจะตีพิมพ์ จัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับด้วยตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือทำให้ปรากฏขึ้นด้วยวิธีการอื่นใดในลักษณะทำนองเดียวกันก็ได้ ทั้งนี้ สำหรับการจัดทำใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้จัดทำตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
การจัดทำรายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการในใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ตามวรรคหนึ่ง ให้จัดทำเฉพาะกรณีที่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการเป็นผู้ที่ต้องมีและใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรในการปฏิบัติการตามประมวลรัษฎากรตามมาตรา ๓ เอกาทศ แห่งประมวลรัษฎากร
ข้อ ๘ ในกรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนได้จัดทำใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ผู้ประกอบการจดทะเบียนจะต้องระบุข้อความรายการเกี่ยวกับสถานประกอบการของผู้ประกอบการจดทะเบียนตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.๒๐) ซึ่งเป็นสถานที่ที่ได้ขายสินค้าหรือให้บริการไว้ในใบกำกับภาษีดังกล่าว สำหรับการจัดทำใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้จัดทำตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป ดังนี้
(๑) กรณีสถานประกอบการที่เป็นสำนักงานใหญ่ของผู้ประกอบการจดทะเบียนเป็นสถานที่ที่ได้ขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ให้ระบุข้อความคำว่า “สำนักงานใหญ่” ซึ่งเป็นสถานประกอบการตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ในใบกำกับภาษีดังกล่าวด้วย
(๒) กรณีสถานประกอบการที่เป็นสาขาของผู้ประกอบการจดทะเบียนเป็นสถานที่ที่ได้ขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ให้ระบุข้อความคำว่า “สาขาที่ ..” ซึ่งเป็นสถานประกอบการตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ในใบกำกับภาษีดังกล่าวด้วย
ข้อความคำว่า “สำนักงานใหญ่” และ “สาขาที่ ..” ตาม (๑) และ (๒) จะตีพิมพ์ จัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับด้วยตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือทำให้ปรากฏขึ้นด้วยวิธีการอื่นใดในลักษณะทำนองเดียวกันก็ได้

ข้อ ๙ ในกรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนได้จัดทำใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องระบุข้อความรายการเกี่ยวกับสถานประกอบการตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.๒๐) ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการนั้นไว้ในใบกำกับภาษีดังกล่าว สำหรับการจัดทำใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้จัดทำตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป ดังนี้
(๑) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนระบุที่อยู่ของสถานประกอบการที่เป็นสำนักงานใหญ่ตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ เป็นที่อยู่ของผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการในใบกำกับภาษี ให้ระบุข้อความคำว่า “สำนักงานใหญ่” ซึ่งเป็นสถานประกอบการตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นไว้ในใบกำกับภาษีดังกล่าวด้วย
(๒) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนระบุที่อยู่ของสถานประกอบการที่เป็นสาขาตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ เป็นที่อยู่ของผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการในใบกำกับภาษี ให้ระบุข้อความว่า “สาขาที่ ..” ซึ่งเป็นสถานประกอบการตามที่ปรากฏในใบทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่มนั้นไว้ในใบกำกับภาษีดังกล่าวด้วย
ข้อความคำว่า “สำนักงานใหญ่” และ “สาขาที่ ..” ตาม (๑) และ (๒) จะตีพิมพ์ จัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับด้วยตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือทำให้ปรากฏขึ้นด้วยวิธีการอื่นใดในลักษณะทำนองเดียวกันก็ได้”

ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป

 

ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖



สาธิต รังคสิริ
(นายสาธิต รังคสิริ)
อธิบดีกรมสรรพากร                                  

 

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๑๙๗)
เรื่อง กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงาน
การเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อตามมาตรา 87
และมาตรา ๘๗/๓ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร
-----------------------------------------------------------

 

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘๗ และมาตรา ๘๗/๓ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช บัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๓๐) พ.ศ. ๒๕๓๔ อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงาน การเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ 2 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๘๙) เรื่อง กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงาน การเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อตามมาตรา ๘๗ และมาตรา ๘๗/๓ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๒ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป

ข้อ ๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๒/๑ ข้อ ๒/๒ และข้อ ๒/๓ ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๘๙) เรื่อง กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงาน การเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อตามมาตรา ๘๗ และมาตรา ๘๗/๓ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๑๒๔) เรื่อง กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงานการเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อตามมาตรา ๘๗ และมาตรา ๘๗/๓ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๕
“ข้อ ๒/๑ ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่คำนวณเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา ๘๒/๓ แห่งประมวลรัษฎากร จัดทำรายงานภาษีขายตามมาตรา ๘๗ (๑) แห่งประมวลรัษฎากร และรายงานภาษีซื้อตามมาตรา ๘๗ (๒) แห่งประมวลรัษฎากร โดยต้องมีรายการและข้อความอย่างน้อยตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ข้อ ๒/๒ ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ขายสินค้าหรือให้บริการลงรายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ และรายการสถานประกอบการของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการในรายงานภาษีขายตามข้อ ๒/๑ ดังนี้
(๑) รายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ ให้ลงรายการดังกล่าวเฉพาะกรณีการลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา ๘๖/๙ แห่งประมวลรัษฎากร หรือใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๖/๑๐ แห่งประมวลรัษฎากรซึ่งออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งต้องมีและใช้เลขประจำตัวในการปฏิบัติการตามประมวลรัษฎากรตามมาตรา ๓ เอกาทศ แห่งประมวลรัษฎากร แล้วแต่กรณี
(๒) รายการสถานประกอบการ ให้ลงรายการของสถานประกอบการซึ่งเป็นสำนักงานใหญ่ หรือสาขาที่ .. ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน และเป็นสถานประกอบการที่ปรากฏตามใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา ๘๖/๙ แห่งประมวลรัษฎากร หรือใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๖/๑๐ แห่งประมวลรัษฎากร ที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้ออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการนั้น แล้วแต่กรณี
รายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรตาม (๑) และรายการสถานประกอบการตาม (๒) ให้ลงรายการดังกล่าวสำหรับใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้จัดทำขึ้นตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป และสำหรับใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา ๘๖/๙ แห่งประมวลรัษฎากร และใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๖/๑๐ แห่งประมวลรัษฎากร ที่อ้างอิงใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งได้จัดทำขึ้นตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ข้อ ๒/๓ ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการลงรายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรและรายการสถานประกอบการของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนในรายงานภาษีซื้อตามข้อ ๒/๑ ดังนี้
(๑) รายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ ให้ลงรายการดังกล่าวเฉพาะกรณีการลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา ๘๖/๙ แห่งประมวลรัษฎากร หรือใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๖/๑๐ แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้รับจากผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการนั้น แล้วแต่กรณี
(๒) รายการสถานประกอบการ ให้ลงรายการของสถานประกอบการซึ่งเป็นสำนักงานใหญ่หรือสาขาที่ .. ของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ ซึ่งเป็นสถานประกอบการตามที่ปรากฏในใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา ๘๖/๙ แห่งประมวลรัษฎากร หรือใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๖/๑๐ แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้รับจากผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการนั้น แล้วแต่กรณี
รายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรตาม (๑) และรายการสถานประกอบการตาม (๒) ให้ลงรายการดังกล่าวสำหรับใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้จัดทำขึ้นตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป และสำหรับใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา ๘๖/๙ แห่งประมวลรัษฎากร และใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๖/๑๐ แห่งประมวลรัษฎากร ที่อ้างอิงใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งได้จัดทำขึ้นตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป”
ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป
 

 

ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

สาธิต รังคสิริ
(นายสาธิต รังคสิริ)
อธิบดีกรมสรรพากร
 


เอกสารแนบ 1    แบบรายงานภาษีขาย (ฉบับใหม่)
เอกสารแนบ 2 clear-gif   แบบรายงานภาษีซื้อ (ฉบับใหม่)
                                                                                                                      

 

 

 

กรมสรรพากรขยายเวลาการเพิ่มรายการในใบก ากับภาษี

 

 

 

ต า ม ที่ ก ร ม ส ร ร พ า ก ร ไ ด้ อ อ ก ป ร ะ ก า ศ อ ธิ บ ดี ก ร ม ส ร ร พ า ก ร เ กี่ ย ว กั บ ภ า ษี มู ล ค่ า เ พิ่ ม

(ฉบับที่ 194)ฯ (ฉบับที่ 195)ฯ (ฉบับที่ 196)ฯ และ (ฉบับที่ 197)ฯ ลงวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

ก าหนดให้ ผู้ ประกอบการจดทะเ บี ยน ซึ่ งเ ป็ นผู้ ขายสิ นค้ าหรื อผู้ ใ ห้ บริ การ เ พิ่ มเ ติ มรายการเ ลขประจ าตั ว

ผู้ เ สี ยภาษี อากร และรายการสถานประกอบการของผู้ ซื้ อสิ นค้ าหรื อผู้ รั บบริ การ และเพิ่ มเติ มรายการสถาน

ประกอบการของผู้ ขายสิ นค้ าหรื อผู้ ให้ บริ การ ในการจั ดท าใบก ากั บภาษี ใบเพิ่ มหนี้ ใบลดหนี้ และในการ

ลงรายงานภาษีซื้อและรายงานภาษีขาย ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป นั้น

กรมสรรพากรได้ ขยายระยะเ วลาการบั งคั บใช้ กฎหมายในเ รื่ องดั งกล่ าว โ ดยก าหนดใ ห้

ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ เพิ่ มเติมรายการดังกล่าวข้างต้น ในใบก ากับภาษี

ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ และในการลงรายงานภาษีซื้อและรายงานภาษีขาย 

 

 

 

ตั้งแต่วั นที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 

 

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 202)
เรื่อง กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงาน
การเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อตามมาตรา 87 และมาตรา 87/3 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร
----------------------

                     อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 87 และมาตรา 87/3 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2534 อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงาน การเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อ ดังต่อไปนี้

                     ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 197) เรื่อง กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงาน การเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อตามมาตรา 87 และมาตรา 87/3 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2556 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
                        “ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 2 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๘๙) เรื่อง กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงานการเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อตามมาตรา ๘๗ และมาตรา ๘๗/๓ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๒ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
                        ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 2/1 ข้อ 2/2 และข้อ 2/3 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 89) เรื่อง กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงาน การเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อตามมาตรา 87 และมาตรา 87/3 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2542 ซึ่ง แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 197) เรื่อง กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน การลงรายการในรายงาน การเก็บใบกำกับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการลงรายงานภาษีซื้อตามมาตรา 87 และมาตรา 87/3 วรรคสองแห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
                        “ข้อ 2/1 ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่คำนวณเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/3 แห่งประมวลรัษฎากร จัดทำรายงานภาษีขายตามมาตรา 87 (1) แห่งประมวลรัษฎากร และรายงานภาษีซื้อตามมาตรา 87 (2) แห่งประมวลรัษฎากร โดยต้องมีรายการและข้อความอย่างน้อยตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป
                         ข้อ 2/2 ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ขายสินค้าหรือให้บริการลงรายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรและรายการสถานประกอบการของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ ในรายงานภาษีขายตามข้อ 2/1 ดังนี้
                           (1) รายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ ให้ลงรายการดังกล่าวเฉพาะกรณีการลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา 86/9 แห่งประมวลรัษฎากร หรือใบลดหนี้ตามมาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน
                            (2) รายการสถานประกอบการ ให้ลงรายการของสถานประกอบการซึ่งเป็นสำนักงานใหญ่ หรือสาขาที่ .. ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน และเป็นสถานประกอบการที่ปรากฏตามใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา 86/9 แห่งประมวลรัษฎากร หรือใบลดหนี้ตามมาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากร ที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้ออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการนั้น แล้วแต่กรณี
                              รายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรตาม (1) และรายการสถานประกอบการตาม (2) ให้ลงรายการ ดังกล่าวสำหรับใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้จัดทำขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป และสำหรับใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา 86/9 แห่งประมวลรัษฎากร และใบลดหนี้ตามมาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากร ที่อ้างอิงใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งได้จัดทำขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป
                         ข้อ 2/3 ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการลงรายการเลขประจำตัว ผู้เสียภาษีอากรและรายการสถานประกอบการของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการ จดทะเบียน ในรายงานภาษีซื้อตามข้อ 2/1 ดังนี้
                               (1) รายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ ให้ลงรายการดังกล่าวเฉพาะกรณีการลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา 86/9 แห่งประมวลรัษฎากร หรือใบลดหนี้ตามมาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้รับจากผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการนั้น แล้วแต่กรณี
                              (2) รายการสถานประกอบการ ให้ลงรายการของสถานประกอบการซึ่งเป็นสำนักงานใหญ่ หรือสาขาที่ .. ของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ ซึ่งเป็นสถานประกอบการตามที่ปรากฏในใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา 86/9 แห่งประมวลรัษฎากร หรือใบลดหนี้ตามมาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้รับจากผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการนั้น แล้วแต่กรณี
                              รายการเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรตาม (1) และรายการสถานประกอบการตาม (2) ให้ลงรายการดังกล่าวสำหรับใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้จัดทำขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป และสำหรับใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา 86/9 แห่งประมวลรัษฎากร และใบลดหนี้ตามมาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากร ที่อ้างอิงใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งได้จัดทำขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป”

                     ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

 

สุทธิชัย สังขมณี
(นายสุทธิชัย สังขมณี)
อธิบดีกรมสรรพากร


 

 -การแก้ไขรายการในใบกำกับภาษี http://www.rd.go.th/publish/49834.0.html


Page 1/1
1
Copyright © 2005 www.teinpun.com Allrights Reserved.
Powered By www.Freethailand.com