Home | Service | News | เว็บบัญชี ที่น่าสนใจ | สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้างและนายจ้าง ตามกฎหมายแรงงาน | Easy_acc for Windows | Link Ranong | แบบจำลองการเริ่มต้นธุรกิจ SME | อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ เริ่มใช้ 1 มิถุนายน 2551 | การหักภาษี ณ ที่จ่าย | สำนักงานประกันสังคม | การยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ต | รู้เรื่องภาษี | รวมแบบฟอร์ม หนังสือสัญญาต่าง ๆ บริการฟรี | ศัพท์บัญชี | การยื่นงบการเงิน | สัมมนาที่น่าสนใจ ปี 2549 จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า | บิซิเนสไทย | ถาม-ตอบ เกี่ยวกับภาษีอากร จากกรมสรรพากร | ถาม-ตอบ ยื่นแบบ/ชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต | ข้อหารือภาษีอากร จากกรมสรรพากร | เกร็ดความรู้ทางธุรกิจ | การจำหน่ายหนี้สูญที่เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม | เงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี | วางแผนการเงิน 6 แผนการเงินที่ควรทำ


Category
   ความเป็นมา
   แผนยุทธศาสตร์กรมสรรพากร พ.ศ.2548-2551
   หน้าที่สำหรับผู้ประกอบการรายใหม่
   สมุดบัญชีที่ผู้ทำบัญชี ต้องจัดทำ ตาม พรบ.การบัญชี พ.ศ.2543
   เอกสารที่ต้องนำส่งเมื่อถูกเรียกตรวจสอบ จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   ข้อควรระมัดระวังในการเลือกผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี
   ข้อควรปฏิบัติ เมื่อกิจการถูกตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้
   สำนักงานบัญชี เปลี่ยนไป
   สำนักงานบัญชีไทย V.S. ยุโรป,อเมริกา
   เตรียมรับมือสรรพากรอย่างไร?
   การยกเลิกใบกำกับภาษี แล้วออกฉบับใหม่ ทำอย่างไร?
   การออกใบแทนใบกำกับภาษี ฉบับที่สูญหาย ทำอย่างไร?
   หน้าที่ตามกฎหมายของผู้เสียภาษีอากร
   เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไร?
   เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับสำนักงานบัญชียุคพัฒนา
   กรมสรรพากรให้บริการไอที Web Services ถึง 8 รายการ
   การแจ้งเปลี่ยนแปลงจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
   สิทธิตามกฎหมายของผู้เสียภาษีอากร
   ใครบ้าง ที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีอากร
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 1
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 2
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 3
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 4
   ราชการใสสะอาด - วินัย/จรรยาบรรณ
   ดีเอสไอ. จับหนุ่มโกงภาษี
   บทความที่น่าสนใจจาก เว็บนักบัญชี.คอม
   แผนที่ชีวิตของคุณ?
   ถนอมสุขภาพตาอย่างไร เมื่ออยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ
   เลือกซอฟท์แวร์อย่างไร สำหรับ SMEs
   การเสียเบี้ยปรับ ในกรณียื่นแบบ ภพ.30 เอง
   อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม,ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั่วโลก
   การจัดตั้งคณะบุคคลทำอย่างไรบ้าง?
   การวางแผนภาษี เลือกจัดตั้งองค์กรธุรกิจ อย่างไรจึงเหมาะสม
   ค่าจดทะเบียนพาณิชย์, ห้างหุ้นส่วน และ บริษัทจำกัด
   ขั้นตอนการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด ทางอินเตอร์เน็ต
   คำเตือนในการนำส่งงบการเงินประจำปีของห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด
   กรณีศึกษา - หมึกแดงกับการวางระบบบัญชีที่ตรวจสอบได้
   การขอเพิ่มสิทธิ์การติดตั้งโปรแกรม EASY_ACC
   คำแนะนำการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ฯ สำหรับการจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพพิเศษจากกรมสรรพากร
   พรบ.การบัญชี 2543 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี
   การหักภาษี ณ ที่จ่าย
   เลขทะเบียนนิติบุคคลใหม่ 13 หลัก
   กลยุทธ์การป้องกันการถูกยึดกิจการ
   5 สัญญาณเตือนไทย ระวังการควบรวมกิจการ
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้าให้บริการคัดสำเนาหนังสือรับรองผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต
   สัมมนาหลักสูตรพื้นฐานสำหรับพัฒนาสำนักงานบัญชี ปี 2549
   โครงการอบรมนิติบุคคลที่จดทะเบียนใหม่ ปี 2549 (ฟรี)
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพผู้ประกอบการ
   อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล เปลี่ยนแปลงเมื่อไร?
   เตือนผู้ทำบัญชี แจ้งการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
   การคำนวณเงินตราต่างประเทศเป็นเงินตราไทย ตามประมวลรัษฎากร
   อบรมเริ่มต้นธุรกิจแบบมืออาชีพ
   อัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2549
   การบริหารร้านค้าปลีกแบบมืออาชีพ
   การสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง
   การทำความเข้าใจกับลูกค้า
   คำอธิบายระหว่าง RMF. และ LTF.
   RMF. & LTF. (2)
   RMF. & LTF. (3)
   RMF. & LTF. (4)
   RMF. & LTF. (5)
   RMF. & LTF. (6)
   กลุ่มบุคคลแอบอ้างเป็นสรรพากรเรียกรับผลประโยชน์ในทางมิชอบ
   แบบสอบถามความเห็น การปรับปรุงการหักค่าใช้จ่ายเงินได้พึงประเมิน
   เปิดเว็บไซต์ ฟรี กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   5 อุปนิสัยในการประมวลผลที่ดี
   กิจวัตรประจำวัน และ จำนวนวันที่มีในชีวิตของคนเรา
   เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (1)
   เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (2)
   ปรับตัว/เตรียมใจอย่างไร? หากเกิดการเลย์ออฟ
   จดแล้วไม่จนจริงหรือ?
   สิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง
   โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่
   หน่วยงานที่ให้บริการแก่ธุรกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง SME
   เตือนให้ส่งงบการเงินปี 2548 ภายใน 31 พฤษภาคม 2549
   ภาษีมูลค่าเพิ่ม,ภาษีเงินได้ กรณีขายบัตรเงินสด
   คำถาม-ตอบในการสัมมนา "การยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต"
   ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการเฉลี่ยภาษีซื้อ
   กรมสรรพากรจัดสัมมนาภาษีอากร ฟรี
   การตัดมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่ของทรัพย์สินที่สูญหายหรือชำรุดใช้งานไม่ได้
   กรณี - ความผิดการใช้ใบกำกับภาษีปลอม และพิสูจน์ผู้รับเงินไม่ได้
   อัตราค่าปรับยื่นงบการเงินปี 2554 ล่าช้า (เริ่มใช้ เมษายน 2555)
   อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ใช้ทั่วประเทศ - กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   กรณีย้ายสถานประกอบการ ใบกำกับภาษีฉบับเดิมยังใช้ได้หรือไม่
   กรณีซื้อสินค้าหรือรับบริการแล้ว ผู้ขายไม่ออกหลักฐานการรับเงินให้ จะทำอย่างไร?
   วางแผนภาษีกับ การลงทุนใน RMF. & LTF.
   การวางแผนภาษี นั้นสำคัญไฉน??
   คำชี้แจงเกี่ยวกับการยื่นงบการเงิน
   การอัพเกรด Easy_Acc for Windows
   ประโยชน์ของการจัดทำบัญชี
   ประเด็นความผิดเกี่ยวกับใบกำกับภาษี ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
   ร่าง พรบ.ของแถมของรางวัล
   สปส. ประกาศกฎกระทรวง เพิ่มคุ้มครอง 6 โรคเรื้อรัง
   ผู้ประกันตน ตาม ม.39 สิ้นสภาพ อย่าลืมรับเงินออม
   สิทธิและหน้าที่ที่ผู้ทำประกันภัยรถยนต์ควรรู้
   ภาษีเงินได้ที่ต้องเสีย - น้องเดียว
   กรณีศึกษา - ภาษีน่ารู้
   เคล็ดลับหาเงินทุน บุกเบิกธุรกิจด้วยตนเอง
   ถึงเวลายื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปีแล้ว (ภงด.94/49)
   ให้บริการยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต
   การวางแผนการเงินส่วนบุคคล
   กรณีศึกษา - การส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายแทนกัน
   กรณีศีกษา - รายรับถึงเกณฑ์ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แล้วไม่จด ต้องเสียเบี้ยปรับ/เงินเพิ่ม
   กรณีศึกษา - นายจ้างจ่ายค่าเบี้ยประกันให้พนักงาน
   ดับค้าปลีกต่างชาติในเยอรมัน-เกาหลี
   เสียภาษีอย่างไรให้ประหยัด
   เทคนิคการเลือก "กองทุน"
   บริษัท/ห้างฯ ที่จดทะเบียนใหม่จะต้องทำอะไรบ้าง?
   การเลือกซื้อกองทุน LTF
   การทำกิจการ "ค้าของเก่า"
   โครงการอบรมนิติบุคคลที่จดทะเบียนใหม่ ปี 2550 (ฟรี)
   รายชื่อผู้สอบบัญชีภาษีอากรทั้งหมด และที่ถูกพักใบอนุญาต
   เกณฑ์การรับรู้รายได้ รายจ่ายทางภาษีอากร (เกณฑ์สิทธิ) เริ่มใช้ 1 มกราคม 2550
   ภาษีซื้อห้ามขอคืน แต่ถือเป็นค่าใช้จ่ายได้
   SMEs เสียภาษีสรรพากรอย่างไร?
   สิทธิของผู้ประกันตน กรณีว่างงาน
   ผู้มีเงินได้บุคคลธรรมดา จะต้องทำบัญชีหรือแสดงรายได้เพื่อเสียภาษีอย่างไร?
   หลากกฎเตือนใจช่วยประหยัด-ฉลาดจ่าย
   กลยุทธ์ปั้นธุรกิจสู่เส้นชัย จาก 5 บริษัทชั้นนำระดับโลก
   กานต์ ตระกูลฮุน บ่มภาวะผู้นำ "คนปูน"
   ขอคืนภาษี โดยไม่สุจริต ระวังติดคุก?
   ข้อแตกต่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน/บริษัท ปี 2538 กับ 2549
   หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่
   หลักเกณฑ์การใช้สิทธิซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว
   หลักเกณฑ์การใช้สิทธิซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อเลี้ยงชีพ
   ปรัชญานายห้างเทียม
   คดีภาษีขึ้นศาลภาษีอากรกลาง เพิ่มขึ้น 100%
   ภาษีมรดกในประเทศไทย
   ค่าลดหย่อนการศึกษาของบุตรตามกฎหมายภาษีไทย
   ผู้มีเงินได้ที่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.90,91 และ 94
   วิธีการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล - ภงด.50 และ ภงด.51
   วางแผนการเงินให้ครอบครัวเภสัชกร
   ช่วยผู้บริหารสานสัมพันธ์ ผูกมิตรกับพนักงานระดับล่าง
   เงินได้ของแพทย์เสียภาษีอย่างไร?
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เตือนให้ยื่นงบการเงินปี 2549 ภายใน 1 มิถุนายน 2550
   เมื่อจดทะเบียนเลิกบริษัท/ห้างฯ แล้ว จะต้องชำระบัญชีเมื่อไร?
   ก่อนเริ่มต้น ทำพาณิชย์อีเล็กทรอนิกส์
   ข้อชี้แนะในการเลือกนักบัญชี (สำนักงานบัญชี)
   กรณีขายน้ำผลไม้สดคั้น
   ปฏิวัติ พ่อแม่
   The Future of Accounting
   สรรพากรเอกซเรย์ทั่วประเทศ ผงะใบกำกับภาษีปลอม500ล.
   อยากให้ลูกเรียนกฎหมาย
   การลงทุนในเวียตนาม
   ถึงเวลาแล้ว ต้องยื่น ภงด.50 รอบปีบัญชี 2550 แล้ว
   สิทธิประโยชน์ทางภาษี ของผู้ส่งออกที่ดี
   ค่าตอบแทนที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณมูลค่าของฐานภาษี
   พิธีการศุลกากร การนำเข้า-ส่งออกสินค้ากับพม่า
   สรรพากรจะให้ร้านค้าใช้เครื่องเก็บเงินในปีหน้า
   ภาษีมูลค่าเพิ่มอัตรา 7% ใช้ถึง 30 กันยายน 2551
   สรรพากรเอาผิดผู้หลีกเลี่ยงภาษีอากรหรือขอคืนภาษีเป็นเท็จ
   ระวัง มิจฉาชีพ อ้างเป็นเจ้าหน้าที่สรรพากรทางโทรศัพท์
   ลูกจ้างควรวางแผนภาษีเงินได้อย่างไร
   คำถามยอดนิยมจากเว็ปกรมสรรพากร
   สวนดุสิตโพลล์ชี้ผลวิจัยล่าสุด บัญชี แพทย์ บริหาร คอมฯ วิศวะ ครองแชมป์ได้งานสูง
   ถอนทะเบียนบริษัทร้าง 4,216 ราย
   สัมมนา "เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสำนักงานบัญชี
   หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรองคุณภาพสำนักงานบัญชี พ.ศ.2550
   เตือนผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชียื่นงบการเงินประจำปี 2550
   มาตรการภาษี กระตุ้นเศรษฐกิจใช้บังคับปีภาษี 2551
   รายงานที่ต้องจัดทำในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
   ระเบียบใหม่ - การจัดประชุมผู้ถือหุ้นต้องประกาศทางหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่
   การเสียภาษีธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ใหม่
   จัดตั้งบริษัทจำกัดได้ภายในวันเดียว เริ่ม 1 กรกฎาคม 2551
   กฎหมายใหม่สำหรับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เริ่มใช้ 1 มกราคม 2551
   สรุปประเด็นข้อผิดพลาดในการตรวจสอบของผู้สอบบัญชี
   ฏีกาภาษี ประเด็นมาตรา 40 (2) หรือ 40 (8)
   เงินได้นอกจากเงินเดือน ได้รับยกเว้นภาษีตามมาตรา 48 (2)
   ด่วน.... สัมนาภาษีอากร ฟรี กับกรมสรรพากร
   ภาษีที่เกี่ยวกับการขายอสังหาริมทรัพย์
   ภาษีที่ดิน
   การลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม 6 เดือน
   สรรพากรไล่บี้สำนักงานบัญชี และผู้ประกอบการที่เลี่ยงภาษี
   เป้าเก็บภาษีปี 2553 - กรมสรรพากร
   กรมสรรพากร - เตือนผู้ทำบัญชีระมัดระวังในการจัดทำงบการเงิน
   การวิเคราะห์ภาระภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม และการขยายฐานภาษี
   งบการเงิน ใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552
   อัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ เริ่ม 1 มกราคม 2553
   มีอะไรใหม่ ในการยื่นชำระภาษีปี 2552 (ภงด.90 / 91)
   หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นงบการเงิน พ.ศ.2553 - ใหม่
   ข้อบกพร่องในการรับงบการเงิน ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   สัมมนาฟรี เรื่อง "เตือนไว้อย่าใสซื่อ กับภาษีซื้อต้องห้าม"
   ขยายเวลา การยื่นงบการเงิน ปี 2552 (3 เขต ใน กทม.)
   กรณีการเสียภาษีเพิ่มขึ้น เมื่อเงินได้ภรรยา ยื่นรวมกับสามี
   สัมมนาฟรี "เตือนไว้อย่าใสซื่อ กับภาษีซื้อต้องห้าม"
   สัมมนาฟรี "ฝ่าวิกฤต พิชิตปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล"
   คัดสำเนาหนังสือรับรอง, เอกสารการจดทะเบียน และงบการเงินทาง e_Service
   การทำธุรกรรมทางออนไลน์ เสียภาษีหรือไม่?
   สำนักงานบัญชี ที่ต้องวางหลักประกันความรับผิดต่อบุคคลที่สาม 3%
   "สมคิด" เสนอปฏิรูปการคลัง ก่อนทุกอย่างจะสายเกินไป
   สัมมนาฟรี "ลด แลก แจก แถม อย่างไร สบายใจ เรื่องภาษี"
   สรรพากรรื้อใหญ่ขยายฐานรายได้ ไม่เน้นขึ้นภาษี หันเก็บทั่วถึง-เป็นธรรม
   สรรพากรประกาศนโยบาย BIG CHANGE ตั้งเป้าปี54 เก็บภาษี 1.3 ล้านล้าน
   บริหารภาษีอย่างถูกวิธี - น่าสนใจ จริง ๆ
   ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป
   ข้อควรทราบเกี่ยวกับการขายอสังหาริมทรัพย์ มีอะไรบ้าง?
   มาตราการภาษีที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
   คลังลุยรื้อภาษีมุ่งลดเหลื่อมล้ำ
   โค้งสุดท้าย ซื้อ RMF/LTF ประหยัดภาษีปี 2553
   ชง ครม. เรียกเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชา รัฐได้เพิ่ม 4,000 ล้านบาท
   การจัดทำบัญชีอย่างง่าย ของ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   กำไรจากการขาย LTF
   สรรพากรเตือนผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องยื่นแบบ ภงด.90/91
   ประเด็นความผิดที่ตรวจพบในงบการเงินของกรมสรรพากร
   เตรียมลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เริ่ม 1 มค.2555
   กรมสรรพากร - คู่มือประชาชน
   แนวปฏิบัติของผู้เสียภาษ๊ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติอุทกภัย 2554
   บริการ 3 กรมภาษี กระทรวงการคลัง
   กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554
   ประกันสังคม ลดอัตราเงินสมทบนายจ้างและผู้ประกันตน จาก 5% เหลือ 3% และ 4%
   ผู้หญิงเฮ ! แยกยื่นเสียภาษีกับสามี จ่ายน้อยลง ผลงานโบว์แดงผู้ตรวจการแผ่นดิน ???
   1 กุมภาพันธ์ 2555 เริ่มใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 13 หลัก
   ขอหนังสือรับรองจดทะเบียนหุ้นส่วน/บริษัท ผ่านธนาคาร ได้แล้ว
   กรณีกรมสรรพากรให้หักค่าลดหย่อนค่าซ่อมบ้านและค่าซ่อมรถเนื่องจากน้ำท่วม ปี 2554
   กรมสรรพากร ให้ยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต มากขึ้น
   ค่าจ้างแรงงานต่อวัน เริ่มใช้ 1 เมษายน 2555 เป็นต้นไป
   ผู้หญิงมีสามีเฮ! ศาลรธน.ตัดสินกม.สรรพากรขัดรัฐธรรมนูญ แยกยื่นภาษีได้-จ่ายน้อยลง-ไม่ต้องหย่าแล้ว
   ข่าวกรมสรรพากรที่น่ารู้
   แนวปฏิบัติการเสียภาษีสามี-ภรรยา แยกกันยื่นแบบทุกภาษี เริ่มปีภาษี 2555 เป็นต้นไป
   การยื่นแบบแสดงรายการภาษี และยื่นแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย ตามประกาศของ ป.ป.ช. เริ่ม 1 เมษายน 2555
   ระเบียบใหม่ การจัดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจำกัดและบริษัทจำกัด เริ่มใช้ 2 มกราคม 2556 เป็นต้นไป
   แนวปฏิบัติการเสียภาษีเงินได้ กรณีสามีภรรยา (ฉบับใหม่) เริ่มใช้ 14 มกราคม 2556
   ขยายเวลาการใช้เลขภาษี 10 หลัก ถึง 31.7.2556
   คำแนะนำในการยื่นบัญชีแสดงรายรับ-รายจ่ายของโครงการ ตาม (บช.1)
   สิทธิประโยชน์ทางภาษีบุคคลธรรมดา ปี 2556 .....ใหม่ล่าสุด
   เพิ่มข้อความ "เลขภาษี 13หลัก" และ "สาขาที่ออกใบกำกับภาษี" ลงในใบกำกับภาษีขาย และใบกำกับภาษีซื้อ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2557
   สัมมนา ฟรี กับสรรพากร (ครึ่งวัน ในวันที่ 5-6 สิงหาคม 2556 จำนวน 4 รอบ)
   ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ฉบับที่..... มาตรการปรับปรุงโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาฯ เริ่มใช้ 1 มค.2556
   การลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปี 2556
   ข้อความอื่นในใบกำกับภาษี ที่จะเริ่มใช้ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป
   สามีภรรยาร่วมกันทำการค้าถ้ารายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องจด VAT
   หลักเกณฑ์การประกาศให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล
   หสม. หรือ คณะบุคคล ตามกฎหมายใหม่ เริ่ม 1 มกราคม 2558
   ขยายกำหนดเวลาการยื่นแบบทางออนไลน์ของกรมสรรพากรไปถึง มค.2560
 
Webboard
  Site Board
 
New Update
สำนักงานบัญชี
1. ให้บริการวางระบบบัญชีของธุรกิจ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี&lt;br&gt;<br>

2. ให้บริการจัดทำบัญชี และรายงานผลการดำเนินธุรกิจเป็นรายเดือน ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี EASY_ACC&lt;br&gt;<br>

3. ให้บริการและให้คำแนะนำในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี <br>

ได้แก่ ภพ.30 ภงด.1,3,53,50,51,90,91,94 ทางอินเทอร์เน็ต ให้บริการแก่ผู้ประกอบการได้ทุกจังหวัดทั่วประเทศ ประหยัดเวลา ไม่ต้องเสียเวลารอและการเดินทางของพนักงานสำหรับการยื่นแบบและชำระภาษี &lt;br&gt;<br>

4. ให้บริการตรวจสอบการเสียภาษีเงินได้, ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฯ ก่อนการ เข้าตรวจสอบของเจ้าพนักงาน&lt;br&gt;<br>

5. จัดทำบัญชีและส่งมอบเอกสารบัญชี, สมุดบัญชีให้ผู้ประกอบการเก็บไว้ตาม พรบ.การบัญชี &lt;br&gt;<br>

สอบถามได้ที่ 077-811694, แฟ็กซ์ 077-813156หรือ E_mail :<a href=mailto:info@teinpun.com>info@teinpun.com</a>; &amp;:<a href=mailto:teinpun@yahoo.com>teinpun@yahoo.com</a>;
 

Online: 001
Visitors : 79100

เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (1)
ภาษีน่ารู้ : เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (1)  

อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์ amornsak@tax-thai.com

ฤดูยื่นภาษี (บุคคลธรรมดา) เริ่มงวดเข้ามา (อีก) แล้ว! แต่บรรยากาศปีภาษีนี้ ดูอึมครึมพิกล เพราะทั้งกรมสรรพากรและผู้เสียภาษี ต่างฝ่ายต่างหวาดผวาซึ่งกันและกัน แฮ่ๆ!

ปกติแล้ว ผู้เสียภาษี (taxpayers) ไม่ค่อยเต็มใจจะย่างกรายเข้าสู่รั้ววายุภักษ์ (สรรพากร) สักเท่าใด เพราะเข้าไปทีไรต้องซีดเซียว (เพราะถูกจับรีดภาษีจนหน้าเขียว) ออกมาทุกที!

แต่ปีจอ (2006) นี้ การณ์กลับตาลปัตร เพราะมีกลุ่มผู้ประท้วงนายกฯ (เรียกตัวเองว่า?กลุ่มพันธมิตรประชาชน เพื่อประชาธิปไตย?) ได้แห่กันอย่างผึ่งผายเข้าไปยื่นสาส์นประท้วงต่อกรมสรรพากร ในกรณีการพิจารณา (ไม่) เก็บภาษีการขายหุ้น Shin Corp. ซึ่งในวันนั้นได้สร้างความเสียว (ตื่นเต้น) แก่เหล่าเจ้าหน้าที่ (นักเก็บภาษี) กันอุตลุด!

แฮ่ๆ?ทุกวันนี้ พอมีประชาชนกลุ่มใหญ่เข้ามาใกล้รั้ววายุภักษ์ทีไร หัวใจ (ดวงน้อยๆ) ของคณะเจ้าหน้าที่ฯ มีอันต้องผวาสงสัยว่า ?เอ็งมาจะยื่น (ชำระ) ภาษี หรือชำระความ (ค้างคาเก่า) กันหว่า??

สถานการณ์ตะลึงตึงเครียดเช่นนี้ เห็นใจทั้ง 2 ฝ่าย (โดยเฉพาะผู้จ่ายภาษี)?จึงขอใช้เวทีนี้สร้างความสมานฉันท์ ผ่อนคลายอารมณ์ (บ่จอย) ด้วยการให้คำแนะนำถึงกลยุทธ์ (ประหยัด) ภาษี แด่ธุรกิจรากหญ้า (SMEs) ทั้งหลาย ดังนี้ครับ

1. กลยุทธ์ภาษี?ธุรกิจเกษตรไทย

เมืองไทยของเราเป็นประเทศเกษตรกรรมมาแต่ดึกดำบรรพ์ เพราะความเหมาะสมของทำเลที่ตั้ง ภูมิอากาศ และความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมของผืนดิน ฯลฯ

80% ของประชากรเมืองไทย จึงมีอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งถือเป็นกลุ่มคนรากหญ้าแท้จริงของประเทศนี้?พวกเขามีความยากจนข้นแค้น และด้อยการศึกษามาหลายชั่วอายุคน เพราะขาดกำลังทรัพย์และขาดโอกาส แถมยังถูกเอารัดเอาเปรียบแทบทุกประตูตลอดมา จนยากที่จะโงหัว (ถ้าไม่มีกลยุทธ์การผลิต/การค้า และธุรกิจฯ เข้ามาเสริมช่วย)

ภาพจะกลับเป็นตรงกันข้าม?ถ้าเรามองไปที่เกษตรกรของชาติใหญ่ๆ หรือประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น จีน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อเมริกา เป็นต้น

จำได้ว่า เมื่อครั้งที่ผู้เขียนไปท่องเที่ยวที่เมืองเซี่ยงไฮ้ ซูโจว หังโจว ฯลฯ พบว่า ตลอด 2 ข้างทางที่รถแล่นไปนอกตัวเมือง หรือระหว่างเมือง จะพบเห็นว่ามีการสร้างบ้านขนาดใหญ่ (2 ชั้น, 3 ชั้น) อยู่ทั่วไป ซึ่งได้ความว่า ส่วนใหญ่เป็นบ้านของชาวนา/เกษตรกรจีน ซึ่งมีฐานะร่ำรวยกว่า/ความเป็นอยู่ (ก็ดี) กว่า พนักงานที่ทำงานตามบริษัทห้างร้านในเมือง (เงินเดือน ไม่เหลือเก็บ เพราะถูกกดดันจากค่าครองชีพที่สูงลิบ)

รัฐบาลจีน จะสนับสนุนอุ้มชูเกษตรกรของเขาโดยให้เช่าที่แปลงใหญ่เพื่อเพาะปลูก/ทำมาหากิน ไปชั่วลูกหลานเป็นมรดกตกทอด (แต่ห้ามโอนขาย)?เกษตรกรบางคนมีฐานะถึงขั้นส่งลูกหลานไปเรียนต่างประเทศ นัยว่าเพื่อให้ได้ภาษาและความเท่ (เพราะเป็นนักเรียนนอก) แม้จะส่งเรียนประเทศใกล้ๆ เช่น ไทย (ABAC) เป็นต้น

สำหรับเกษตรกรของประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น ออสเตรเลีย ยุโรป และอเมริกา ฯลฯ นั้น ล้วนได้รับการอุปถัมภ์อุ้มชูจากรัฐบาลทั้งสิ้น เช่น การประกันราคาพืชผล การช่วยหาตลาดต่างประเทศ โดยผ่านการเจรจาเปิดเขตการค้าเสรี (FTA) รวมถึงนโยบายกีดกันพืชผลทางการเกษตรจากต่างประเทศ โดยผ่านการตั้งกำแพงภาษี (ในอดีต) ซึ่งในปัจจุบันอาจใช้ non-tariff barrier เช่น การตั้งเกณฑ์มาตรฐานสุขอนามัย (SPS) ที่สูงๆ เป็นต้น?ชาวนา/เกษตรกรของประเทศร่ำรวย เหล่านี้ ล้วนมีฐานะดี และมีอิทธิพล (กดดัน) ต่อรัฐบาลได้มากกว่าบ้านเราเยอะเชียวครับ บางคนถึงขั้นเป็นเศรษฐี/อภิมหาเศรษฐี เช่น การปลูกไร่องุ่น และตั้งโรงงานผลิตไวน์ชั้นนำของโลก เป็นต้น และกลายเป็นผู้สนับสนุนหลังฉากของพรรคการเมืองฯ ก็มี

เมื่อเป็นเช่นนี้?ก็แปลว่า ?เกษตรกรไทย? ก็ย่อมมีโอกาสที่จะมั่งคั่งร่ำรวยได้เช่นกัน (ถ้าเดินถูกทาง) ดังที่ผู้เขียนจะสาธยายเป็นตัวอย่างพอสังเขปดังนี้ครับ

(1) ธุรกิจสวนเกษตร

เมื่อราว 10 ปีก่อน (ยุคฟองสบู่เริ่มแตก) มีเพื่อนคนหนึ่งของผู้เขียนคุยให้ฟังว่า ตนได้ดอดไปซื้อที่ดินผืนใหญ่ที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนเพื่อปลูกสวนส้ม โดยว่าจ้างคนงานในท้องถิ่นจำนวนหนึ่งบริหารจัดการและดูแลสวนส้มแห่งนี้

ช่วงนั้น ผู้เขียนรู้สึกว่าเจ้าหมอนี่คงสติแตกหรืออย่างไร ที่นำเงินไปหว่านทิ้งในหุบป่าเขาเช่นนั้น

ครั้นมาลองนั่งลำดับความคิดดู ก็จินตนาการได้ว่า เพื่อนเราคิดการณ์ใหญ่และฝันไกลจริงๆ เพราะธุรกิจนี้มีโอกาสทำกำไรได้หลายชั้น เริ่มแต่สวนส้ม ซึ่งคัดเลือกพันธุ์ที่ดีเลิศ (เช่นส้มโชกุน) ซึ่งน่าจะให้ผลผลิตที่สูง (เพราะสภาพอากาศ และภูมิประเทศอำนวย) และราคาดี (กำไรงาม) เพราะกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ

การทำเกษตรกรรมประเภทไม้ล้มลุกและธัญชาตินี้ มีภาระภาษีต่ำ เพราะได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (มาตรา 81 (1) (ก) แห่งประมวลรัษฎากร) จึงมีเพียงภาระภาษีเงินได้ฯ ซึ่งสามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายเหมาได้ถึง 85% (พรฎ.#11, หากตั้งในรูปบุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคล)

ซึ่งถ้าอ่านใจเพื่อนโดยมองข้ามช็อตไปถึงทิศทางการเติบโต/ขยายธุรกิจ ก็ต้องชูหัวแม่โป้งให้ว่า เขาสามารถเดินได้หลายช่อง เช่น ธุรกิจท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ การเปิดเป็นวิทยาลัยเกษตรกรรมให้มีพื้นที่ทำแปลงสาธิตได้กว้างขวาง หรือจะพัฒนาเป็นรีสอร์ท & สปา เป็นต้น ซึ่งเมื่อพื้นที่เจริญขึ้น ก็ย่อมทำให้ที่ดินมีมูลค่าเพิ่มหาศาล ซึ่ง unrealized capital gain นี้ มีตัวเลขสูงกว่าธุรกิจดั้งเดิมเป็นไหนๆ?ซึ่งท้ายที่สุดอาจมีโอกาสเป็นรัฐมนตรี ด้วยการสมัครผู้แทนฯ มีฐานเสียงเป็นคนงานมากมายในไร่อีกต่างหาก แฮ่ม!

(2) ธุรกิจสวนองุ่นและไวน์

เอ่ยถึงไวน์ก็คงต้องเป็น ?ชาโต เดอ ชาละวัน? ของเสธหนั่นฯ (พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์) หัวหน้าพรรคมหาชน ซึ่งใช้เวลาช่วงเว้นวรรคทางการเมือง 5 ปี ไปผลักดันธุรกิจสวนองุ่นของตนที่จังหวัดพิจิตร โดยตั้งโรงงานผลิตไวน์องุ่นชั้นแนวหน้าของไทย เพื่อส่งขายทั้งในและต่างประเทศ

ไวน์ของเสธหนั่นฯ ได้เคยชนะการประกวดคัดเลือกขึ้นเสิร์ฟบนเครื่องบินของการบินไทยมาแล้ว จึงย่อมการันตีในคุณภาพว่าไม่เป็นสองรองใคร แถมยังมีราคาถูกกว่าไวน์ชั้นดีจากฝรั่งเศส อิตาลี จึงเป็นการช่วยลดการขาดดุล การค้าได้อีกด้วย

ในอนาคต หากสามารถพัฒนาและคัดเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสมและได้ผู้ร่วมทุนต่างชาติที่มี know - how และประสบการณ์ (กว่านี้) ก็ย่อมมีโอกาสเลื่อนระดับขึ้นเบียดแข่งกับไวน์ชั้นนำในตลาดโลกได้ เช่นกัน

กลยุทธ์ธุรกิจของเสธหนั่นฯ คือ การเปิดธุรกิจท่องเที่ยวฟาร์มนกกระจอกเทศและสวนเกษตรฯ เพื่อเป็นรายได้เสริมฯ ซึ่งถ้าวางแผนการเติบโตเป็นธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ก็จะต้องจัดโครงสร้างทางธุรกิจให้เหมาะสม เช่น การตั้งบริษัทแยกเป็นแต่ละประเภทธุรกิจ (หรือไม่?) การเล็งซื้อที่ดินเพิ่มเติม ซึ่งต้องมองถึงตลาดสินค้าของตนว่าอยู่โซนใด (อเมริกา, ยุโรป, จีน หรืออาเซียน) เพราะในระยะยาวเมื่อโลกนี้เป็นเขตการค้าเสรีแบบไร้พรมแดน (เต็มรูป) ซึ่งไม่มีกำแพงภาษี (อากรขาเข้า) การแข่งขันเรื่องต้นทุนก็จะโฟกัสไปที่ปัญหาโลจิสติกส์ (logistics) ว่าใครจะเคลื่อนสินค้าถึงมือ ผู้บริโภคได้เร็วกว่าในต้นทุนการขนส่งที่ต่ำกว่า!

(3) ธุรกิจเกษตรครบวงจร

ณ วินาทีนี้ ต้องยกให้กลุ่ม เจียไต๋ (ซีพี) เป็นเจ้าแห่งธุรกิจเกษตร/ปศุสัตว์ครบวงจร ที่สมบูรณ์แบบทั้งทางด้านวิสัยทัศน์ ทิศทาง เงินทุน การตลาด การผลิต (ที่ดิน/โรงงาน/เทคโนโลยี) และบุคลากร (เก่งๆ ของไทย ถูกดูดมาไว้ที่นี่เกือบหมด!)

วิสัยทัศน์ (vision) ในการทำธุรกิจถือเป็นสิ่งสำคัญที่สุดเข้าทำนอง ?ผู้ที่เห็นช่อง/เห็นโอกาสทางธุรกิจ (market opportunity) ย่อมกำชัยเกินครึ่งตัวแล้ว? เพราะเดินหมากก่อน ย่อมกุมสภาพได้เบ็ดเสร็จทั้งชัยภูมิ ชื่อเสียง เครือข่าย และสัมพันธภาพ (connection) โดยเฉพาะการเจาะตลาดต่างแดน เช่น กรณีที่ ซีพีกรุ๊ป บุกเบิกไปตั้งโรงงาน และสวนเกษตรขนาดใหญ่โตมโหฬารที่จีนก่อนใครๆ นั้น ชัดเจนว่า เป็นการได้เปรียบกว่าคู่แข่งขันแทบทุกชาติที่เพิ่งเริ่มตื่นตัวและกำลังหาวิธีปีนไต่กำแพงเมืองจีน ในขณะที่จีนวันนี้ฟื้นคืนเป็นยักษ์ใหญ่และมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของโลกไปแล้ว!

การทำธุรกิจการค้า/การลงทุน/การผลิต ในลักษณะบรรษัทข้ามชาติ (multinational corporation (MNC)) เช่นนี้ มีความจำเป็นจะต้องสร้างฐานรากและจัดโครงสร้างทางธุรกิจให้ถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะในเรื่องโครงสร้าง เงินทุน/ผู้ถือหุ้น/และภาษีอากรฯ

กล่าวสำหรับในมุมภาษีอากร จะต้องศึกษาภาระภาษีของทั้ง 2 ประเทศ (คือ ไทย/จีน) เช่น ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ซึ่งลดได้โดยตั้งบริษัทในเขตเศรษฐกิจพิเศษบางแห่งในจีนฯ) สิทธิประโยชน์จากอนุสัญญาภาษีซ้อน (DTA ไทย-จีน) สนธิสัญญาเปิดเขตการค้าเสรีไทย/จีน อาเซียน/จีน เป็นต้น ซึ่งจะสามารถลดต้นทุนค่าอากรศุลกากรลงได้มาก หากเข้าตามเงื่อนไขของแหล่งกำเนิดสินค้า เป็นต้น

กรุงเทพธุรกิจรายสัปดาห์

คู่คิด...คนคิดรวย

Page 1/1
1
Copyright © 2005 www.teinpun.com Allrights Reserved.
Powered By www.Freethailand.com