Home | Service | News | เว็บบัญชี ที่น่าสนใจ | สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้างและนายจ้าง ตามกฎหมายแรงงาน | Easy_acc for Windows | Link Ranong | แบบจำลองการเริ่มต้นธุรกิจ SME | อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ เริ่มใช้ 1 มิถุนายน 2551 | การหักภาษี ณ ที่จ่าย | สำนักงานประกันสังคม | การยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ต | รู้เรื่องภาษี | รวมแบบฟอร์ม หนังสือสัญญาต่าง ๆ บริการฟรี | ศัพท์บัญชี | การยื่นงบการเงิน | สัมมนาที่น่าสนใจ ปี 2549 จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า | บิซิเนสไทย | ถาม-ตอบ เกี่ยวกับภาษีอากร จากกรมสรรพากร | ถาม-ตอบ ยื่นแบบ/ชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต | ข้อหารือภาษีอากร จากกรมสรรพากร | เกร็ดความรู้ทางธุรกิจ | การจำหน่ายหนี้สูญที่เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม | เงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี | วางแผนการเงิน 6 แผนการเงินที่ควรทำ


Category
   ความเป็นมา
   แผนยุทธศาสตร์กรมสรรพากร พ.ศ.2548-2551
   หน้าที่สำหรับผู้ประกอบการรายใหม่
   สมุดบัญชีที่ผู้ทำบัญชี ต้องจัดทำ ตาม พรบ.การบัญชี พ.ศ.2543
   เอกสารที่ต้องนำส่งเมื่อถูกเรียกตรวจสอบ จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   ข้อควรระมัดระวังในการเลือกผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี
   ข้อควรปฏิบัติ เมื่อกิจการถูกตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้
   สำนักงานบัญชี เปลี่ยนไป
   สำนักงานบัญชีไทย V.S. ยุโรป,อเมริกา
   เตรียมรับมือสรรพากรอย่างไร?
   การยกเลิกใบกำกับภาษี แล้วออกฉบับใหม่ ทำอย่างไร?
   การออกใบแทนใบกำกับภาษี ฉบับที่สูญหาย ทำอย่างไร?
   หน้าที่ตามกฎหมายของผู้เสียภาษีอากร
   เลือกโปรแกรมบัญชีอย่างไร?
   เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับสำนักงานบัญชียุคพัฒนา
   กรมสรรพากรให้บริการไอที Web Services ถึง 8 รายการ
   การแจ้งเปลี่ยนแปลงจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
   สิทธิตามกฎหมายของผู้เสียภาษีอากร
   ใครบ้าง ที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีอากร
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 1
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 2
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 3
   ราชการใสสะอาด - กรมสรรพากร กรณีที่ 4
   ราชการใสสะอาด - วินัย/จรรยาบรรณ
   ดีเอสไอ. จับหนุ่มโกงภาษี
   บทความที่น่าสนใจจาก เว็บนักบัญชี.คอม
   แผนที่ชีวิตของคุณ?
   ถนอมสุขภาพตาอย่างไร เมื่ออยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ
   เลือกซอฟท์แวร์อย่างไร สำหรับ SMEs
   การเสียเบี้ยปรับ ในกรณียื่นแบบ ภพ.30 เอง
   อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม,ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั่วโลก
   การจัดตั้งคณะบุคคลทำอย่างไรบ้าง?
   การวางแผนภาษี เลือกจัดตั้งองค์กรธุรกิจ อย่างไรจึงเหมาะสม
   ค่าจดทะเบียนพาณิชย์, ห้างหุ้นส่วน และ บริษัทจำกัด
   ขั้นตอนการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด ทางอินเตอร์เน็ต
   คำเตือนในการนำส่งงบการเงินประจำปีของห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด
   กรณีศึกษา - หมึกแดงกับการวางระบบบัญชีที่ตรวจสอบได้
   การขอเพิ่มสิทธิ์การติดตั้งโปรแกรม EASY_ACC
   คำแนะนำการขอใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ฯ สำหรับการจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพพิเศษจากกรมสรรพากร
   พรบ.การบัญชี 2543 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี
   การหักภาษี ณ ที่จ่าย
   เลขทะเบียนนิติบุคคลใหม่ 13 หลัก
   กลยุทธ์การป้องกันการถูกยึดกิจการ
   5 สัญญาณเตือนไทย ระวังการควบรวมกิจการ
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้าให้บริการคัดสำเนาหนังสือรับรองผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต
   สัมมนาหลักสูตรพื้นฐานสำหรับพัฒนาสำนักงานบัญชี ปี 2549
   โครงการอบรมนิติบุคคลที่จดทะเบียนใหม่ ปี 2549 (ฟรี)
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพผู้ประกอบการ
   อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล เปลี่ยนแปลงเมื่อไร?
   เตือนผู้ทำบัญชี แจ้งการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
   การคำนวณเงินตราต่างประเทศเป็นเงินตราไทย ตามประมวลรัษฎากร
   อบรมเริ่มต้นธุรกิจแบบมืออาชีพ
   อัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2549
   การบริหารร้านค้าปลีกแบบมืออาชีพ
   การสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง
   การทำความเข้าใจกับลูกค้า
   คำอธิบายระหว่าง RMF. และ LTF.
   RMF. & LTF. (2)
   RMF. & LTF. (3)
   RMF. & LTF. (4)
   RMF. & LTF. (5)
   RMF. & LTF. (6)
   กลุ่มบุคคลแอบอ้างเป็นสรรพากรเรียกรับผลประโยชน์ในทางมิชอบ
   แบบสอบถามความเห็น การปรับปรุงการหักค่าใช้จ่ายเงินได้พึงประเมิน
   เปิดเว็บไซต์ ฟรี กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   5 อุปนิสัยในการประมวลผลที่ดี
   กิจวัตรประจำวัน และ จำนวนวันที่มีในชีวิตของคนเรา
   เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (1)
   เมื่อรากหญ้า ถูกถามหาภาษี (2)
   ปรับตัว/เตรียมใจอย่างไร? หากเกิดการเลย์ออฟ
   จดแล้วไม่จนจริงหรือ?
   สิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง
   โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่
   หน่วยงานที่ให้บริการแก่ธุรกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง SME
   เตือนให้ส่งงบการเงินปี 2548 ภายใน 31 พฤษภาคม 2549
   ภาษีมูลค่าเพิ่ม,ภาษีเงินได้ กรณีขายบัตรเงินสด
   คำถาม-ตอบในการสัมมนา "การยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต"
   ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการเฉลี่ยภาษีซื้อ
   กรมสรรพากรจัดสัมมนาภาษีอากร ฟรี
   การตัดมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่ของทรัพย์สินที่สูญหายหรือชำรุดใช้งานไม่ได้
   กรณี - ความผิดการใช้ใบกำกับภาษีปลอม และพิสูจน์ผู้รับเงินไม่ได้
   อัตราค่าปรับยื่นงบการเงินปี 2554 ล่าช้า (เริ่มใช้ เมษายน 2555)
   อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ใช้ทั่วประเทศ - กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   กรณีย้ายสถานประกอบการ ใบกำกับภาษีฉบับเดิมยังใช้ได้หรือไม่
   กรณีซื้อสินค้าหรือรับบริการแล้ว ผู้ขายไม่ออกหลักฐานการรับเงินให้ จะทำอย่างไร?
   วางแผนภาษีกับ การลงทุนใน RMF. & LTF.
   การวางแผนภาษี นั้นสำคัญไฉน??
   คำชี้แจงเกี่ยวกับการยื่นงบการเงิน
   การอัพเกรด Easy_Acc for Windows
   ประโยชน์ของการจัดทำบัญชี
   ประเด็นความผิดเกี่ยวกับใบกำกับภาษี ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
   ร่าง พรบ.ของแถมของรางวัล
   สปส. ประกาศกฎกระทรวง เพิ่มคุ้มครอง 6 โรคเรื้อรัง
   ผู้ประกันตน ตาม ม.39 สิ้นสภาพ อย่าลืมรับเงินออม
   สิทธิและหน้าที่ที่ผู้ทำประกันภัยรถยนต์ควรรู้
   ภาษีเงินได้ที่ต้องเสีย - น้องเดียว
   กรณีศึกษา - ภาษีน่ารู้
   เคล็ดลับหาเงินทุน บุกเบิกธุรกิจด้วยตนเอง
   ถึงเวลายื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปีแล้ว (ภงด.94/49)
   ให้บริการยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต
   การวางแผนการเงินส่วนบุคคล
   กรณีศึกษา - การส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายแทนกัน
   กรณีศีกษา - รายรับถึงเกณฑ์ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แล้วไม่จด ต้องเสียเบี้ยปรับ/เงินเพิ่ม
   กรณีศึกษา - นายจ้างจ่ายค่าเบี้ยประกันให้พนักงาน
   ดับค้าปลีกต่างชาติในเยอรมัน-เกาหลี
   เสียภาษีอย่างไรให้ประหยัด
   เทคนิคการเลือก "กองทุน"
   บริษัท/ห้างฯ ที่จดทะเบียนใหม่จะต้องทำอะไรบ้าง?
   การเลือกซื้อกองทุน LTF
   การทำกิจการ "ค้าของเก่า"
   โครงการอบรมนิติบุคคลที่จดทะเบียนใหม่ ปี 2550 (ฟรี)
   รายชื่อผู้สอบบัญชีภาษีอากรทั้งหมด และที่ถูกพักใบอนุญาต
   เกณฑ์การรับรู้รายได้ รายจ่ายทางภาษีอากร (เกณฑ์สิทธิ) เริ่มใช้ 1 มกราคม 2550
   ภาษีซื้อห้ามขอคืน แต่ถือเป็นค่าใช้จ่ายได้
   SMEs เสียภาษีสรรพากรอย่างไร?
   สิทธิของผู้ประกันตน กรณีว่างงาน
   ผู้มีเงินได้บุคคลธรรมดา จะต้องทำบัญชีหรือแสดงรายได้เพื่อเสียภาษีอย่างไร?
   หลากกฎเตือนใจช่วยประหยัด-ฉลาดจ่าย
   กลยุทธ์ปั้นธุรกิจสู่เส้นชัย จาก 5 บริษัทชั้นนำระดับโลก
   กานต์ ตระกูลฮุน บ่มภาวะผู้นำ "คนปูน"
   ขอคืนภาษี โดยไม่สุจริต ระวังติดคุก?
   ข้อแตกต่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน/บริษัท ปี 2538 กับ 2549
   หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่
   หลักเกณฑ์การใช้สิทธิซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว
   หลักเกณฑ์การใช้สิทธิซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อเลี้ยงชีพ
   ปรัชญานายห้างเทียม
   คดีภาษีขึ้นศาลภาษีอากรกลาง เพิ่มขึ้น 100%
   ภาษีมรดกในประเทศไทย
   ค่าลดหย่อนการศึกษาของบุตรตามกฎหมายภาษีไทย
   ผู้มีเงินได้ที่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.90,91 และ 94
   วิธีการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล - ภงด.50 และ ภงด.51
   วางแผนการเงินให้ครอบครัวเภสัชกร
   ช่วยผู้บริหารสานสัมพันธ์ ผูกมิตรกับพนักงานระดับล่าง
   เงินได้ของแพทย์เสียภาษีอย่างไร?
   กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เตือนให้ยื่นงบการเงินปี 2549 ภายใน 1 มิถุนายน 2550
   เมื่อจดทะเบียนเลิกบริษัท/ห้างฯ แล้ว จะต้องชำระบัญชีเมื่อไร?
   ก่อนเริ่มต้น ทำพาณิชย์อีเล็กทรอนิกส์
   ข้อชี้แนะในการเลือกนักบัญชี (สำนักงานบัญชี)
   กรณีขายน้ำผลไม้สดคั้น
   ปฏิวัติ พ่อแม่
   The Future of Accounting
   สรรพากรเอกซเรย์ทั่วประเทศ ผงะใบกำกับภาษีปลอม500ล.
   อยากให้ลูกเรียนกฎหมาย
   การลงทุนในเวียตนาม
   ถึงเวลาแล้ว ต้องยื่น ภงด.50 รอบปีบัญชี 2550 แล้ว
   สิทธิประโยชน์ทางภาษี ของผู้ส่งออกที่ดี
   ค่าตอบแทนที่ไม่ต้องนำมารวมคำนวณมูลค่าของฐานภาษี
   พิธีการศุลกากร การนำเข้า-ส่งออกสินค้ากับพม่า
   สรรพากรจะให้ร้านค้าใช้เครื่องเก็บเงินในปีหน้า
   ภาษีมูลค่าเพิ่มอัตรา 7% ใช้ถึง 30 กันยายน 2551
   สรรพากรเอาผิดผู้หลีกเลี่ยงภาษีอากรหรือขอคืนภาษีเป็นเท็จ
   ระวัง มิจฉาชีพ อ้างเป็นเจ้าหน้าที่สรรพากรทางโทรศัพท์
   ลูกจ้างควรวางแผนภาษีเงินได้อย่างไร
   คำถามยอดนิยมจากเว็ปกรมสรรพากร
   สวนดุสิตโพลล์ชี้ผลวิจัยล่าสุด บัญชี แพทย์ บริหาร คอมฯ วิศวะ ครองแชมป์ได้งานสูง
   ถอนทะเบียนบริษัทร้าง 4,216 ราย
   สัมมนา "เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสำนักงานบัญชี
   หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรองคุณภาพสำนักงานบัญชี พ.ศ.2550
   เตือนผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชียื่นงบการเงินประจำปี 2550
   มาตรการภาษี กระตุ้นเศรษฐกิจใช้บังคับปีภาษี 2551
   รายงานที่ต้องจัดทำในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
   ระเบียบใหม่ - การจัดประชุมผู้ถือหุ้นต้องประกาศทางหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่
   การเสียภาษีธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ใหม่
   จัดตั้งบริษัทจำกัดได้ภายในวันเดียว เริ่ม 1 กรกฎาคม 2551
   กฎหมายใหม่สำหรับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เริ่มใช้ 1 มกราคม 2551
   สรุปประเด็นข้อผิดพลาดในการตรวจสอบของผู้สอบบัญชี
   ฏีกาภาษี ประเด็นมาตรา 40 (2) หรือ 40 (8)
   เงินได้นอกจากเงินเดือน ได้รับยกเว้นภาษีตามมาตรา 48 (2)
   ด่วน.... สัมนาภาษีอากร ฟรี กับกรมสรรพากร
   ภาษีที่เกี่ยวกับการขายอสังหาริมทรัพย์
   ภาษีที่ดิน
   การลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม 6 เดือน
   สรรพากรไล่บี้สำนักงานบัญชี และผู้ประกอบการที่เลี่ยงภาษี
   เป้าเก็บภาษีปี 2553 - กรมสรรพากร
   กรมสรรพากร - เตือนผู้ทำบัญชีระมัดระวังในการจัดทำงบการเงิน
   การวิเคราะห์ภาระภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม และการขยายฐานภาษี
   งบการเงิน ใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552
   อัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ เริ่ม 1 มกราคม 2553
   มีอะไรใหม่ ในการยื่นชำระภาษีปี 2552 (ภงด.90 / 91)
   หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นงบการเงิน พ.ศ.2553 - ใหม่
   ข้อบกพร่องในการรับงบการเงิน ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   สัมมนาฟรี เรื่อง "เตือนไว้อย่าใสซื่อ กับภาษีซื้อต้องห้าม"
   ขยายเวลา การยื่นงบการเงิน ปี 2552 (3 เขต ใน กทม.)
   กรณีการเสียภาษีเพิ่มขึ้น เมื่อเงินได้ภรรยา ยื่นรวมกับสามี
   สัมมนาฟรี "เตือนไว้อย่าใสซื่อ กับภาษีซื้อต้องห้าม"
   สัมมนาฟรี "ฝ่าวิกฤต พิชิตปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล"
   คัดสำเนาหนังสือรับรอง, เอกสารการจดทะเบียน และงบการเงินทาง e_Service
   การทำธุรกรรมทางออนไลน์ เสียภาษีหรือไม่?
   สำนักงานบัญชี ที่ต้องวางหลักประกันความรับผิดต่อบุคคลที่สาม 3%
   "สมคิด" เสนอปฏิรูปการคลัง ก่อนทุกอย่างจะสายเกินไป
   สัมมนาฟรี "ลด แลก แจก แถม อย่างไร สบายใจ เรื่องภาษี"
   สรรพากรรื้อใหญ่ขยายฐานรายได้ ไม่เน้นขึ้นภาษี หันเก็บทั่วถึง-เป็นธรรม
   สรรพากรประกาศนโยบาย BIG CHANGE ตั้งเป้าปี54 เก็บภาษี 1.3 ล้านล้าน
   บริหารภาษีอย่างถูกวิธี - น่าสนใจ จริง ๆ
   ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป
   ข้อควรทราบเกี่ยวกับการขายอสังหาริมทรัพย์ มีอะไรบ้าง?
   มาตราการภาษีที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
   คลังลุยรื้อภาษีมุ่งลดเหลื่อมล้ำ
   โค้งสุดท้าย ซื้อ RMF/LTF ประหยัดภาษีปี 2553
   ชง ครม. เรียกเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชา รัฐได้เพิ่ม 4,000 ล้านบาท
   การจัดทำบัญชีอย่างง่าย ของ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
   กำไรจากการขาย LTF
   สรรพากรเตือนผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องยื่นแบบ ภงด.90/91
   ประเด็นความผิดที่ตรวจพบในงบการเงินของกรมสรรพากร
   เตรียมลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เริ่ม 1 มค.2555
   กรมสรรพากร - คู่มือประชาชน
   แนวปฏิบัติของผู้เสียภาษ๊ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติอุทกภัย 2554
   บริการ 3 กรมภาษี กระทรวงการคลัง
   กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554
   ประกันสังคม ลดอัตราเงินสมทบนายจ้างและผู้ประกันตน จาก 5% เหลือ 3% และ 4%
   ผู้หญิงเฮ ! แยกยื่นเสียภาษีกับสามี จ่ายน้อยลง ผลงานโบว์แดงผู้ตรวจการแผ่นดิน ???
   1 กุมภาพันธ์ 2555 เริ่มใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 13 หลัก
   ขอหนังสือรับรองจดทะเบียนหุ้นส่วน/บริษัท ผ่านธนาคาร ได้แล้ว
   กรณีกรมสรรพากรให้หักค่าลดหย่อนค่าซ่อมบ้านและค่าซ่อมรถเนื่องจากน้ำท่วม ปี 2554
   กรมสรรพากร ให้ยื่นแบบและชำระภาษีทางอินเทอร์เน็ต มากขึ้น
   ค่าจ้างแรงงานต่อวัน เริ่มใช้ 1 เมษายน 2555 เป็นต้นไป
   ผู้หญิงมีสามีเฮ! ศาลรธน.ตัดสินกม.สรรพากรขัดรัฐธรรมนูญ แยกยื่นภาษีได้-จ่ายน้อยลง-ไม่ต้องหย่าแล้ว
   ข่าวกรมสรรพากรที่น่ารู้
   แนวปฏิบัติการเสียภาษีสามี-ภรรยา แยกกันยื่นแบบทุกภาษี เริ่มปีภาษี 2555 เป็นต้นไป
   การยื่นแบบแสดงรายการภาษี และยื่นแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย ตามประกาศของ ป.ป.ช. เริ่ม 1 เมษายน 2555
   ระเบียบใหม่ การจัดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจำกัดและบริษัทจำกัด เริ่มใช้ 2 มกราคม 2556 เป็นต้นไป
   แนวปฏิบัติการเสียภาษีเงินได้ กรณีสามีภรรยา (ฉบับใหม่) เริ่มใช้ 14 มกราคม 2556
   ขยายเวลาการใช้เลขภาษี 10 หลัก ถึง 31.7.2556
   คำแนะนำในการยื่นบัญชีแสดงรายรับ-รายจ่ายของโครงการ ตาม (บช.1)
   สิทธิประโยชน์ทางภาษีบุคคลธรรมดา ปี 2556 .....ใหม่ล่าสุด
   เพิ่มข้อความ "เลขภาษี 13หลัก" และ "สาขาที่ออกใบกำกับภาษี" ลงในใบกำกับภาษีขาย และใบกำกับภาษีซื้อ เริ่มใช้ 1 มกราคม 2557
   สัมมนา ฟรี กับสรรพากร (ครึ่งวัน ในวันที่ 5-6 สิงหาคม 2556 จำนวน 4 รอบ)
   ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ฉบับที่..... มาตรการปรับปรุงโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาฯ เริ่มใช้ 1 มค.2556
   การลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปี 2556
   ข้อความอื่นในใบกำกับภาษี ที่จะเริ่มใช้ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป
   สามีภรรยาร่วมกันทำการค้าถ้ารายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องจด VAT
   หลักเกณฑ์การประกาศให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล
   หสม. หรือ คณะบุคคล ตามกฎหมายใหม่ เริ่ม 1 มกราคม 2558
   ขยายกำหนดเวลาการยื่นแบบทางออนไลน์ของกรมสรรพากรไปถึง มค.2560
 
Webboard
  Site Board
 
New Update
สำนักงานบัญชี
1. ให้บริการวางระบบบัญชีของธุรกิจ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี&lt;br&gt;<br>

2. ให้บริการจัดทำบัญชี และรายงานผลการดำเนินธุรกิจเป็นรายเดือน ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี EASY_ACC&lt;br&gt;<br>

3. ให้บริการและให้คำแนะนำในการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี <br>

ได้แก่ ภพ.30 ภงด.1,3,53,50,51,90,91,94 ทางอินเทอร์เน็ต ให้บริการแก่ผู้ประกอบการได้ทุกจังหวัดทั่วประเทศ ประหยัดเวลา ไม่ต้องเสียเวลารอและการเดินทางของพนักงานสำหรับการยื่นแบบและชำระภาษี &lt;br&gt;<br>

4. ให้บริการตรวจสอบการเสียภาษีเงินได้, ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฯ ก่อนการ เข้าตรวจสอบของเจ้าพนักงาน&lt;br&gt;<br>

5. จัดทำบัญชีและส่งมอบเอกสารบัญชี, สมุดบัญชีให้ผู้ประกอบการเก็บไว้ตาม พรบ.การบัญชี &lt;br&gt;<br>

สอบถามได้ที่ 077-811694, แฟ็กซ์ 077-813156หรือ E_mail :<a href=mailto:info@teinpun.com>info@teinpun.com</a>; &amp;:<a href=mailto:teinpun@yahoo.com>teinpun@yahoo.com</a>;
 

Online: 001
Visitors : 78937

การวางแผนภาษี นั้นสำคัญไฉน??
    แนะนำบทความดีๆ  
 
 
 
 
 click ดูรายละเอียด   การวางแผนภาษีนั้นสำคัญไฉน
  โดย...วันเพ็ญ หรูจิตตวิวัฒน์
[wanpen@boi.go.th]

ภาษีเป็นเรื่องที่น้อยคนไม่รู้จัก แม้ว่าประชาชนกว่า 62 ล้านคนเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพียงประมาณ 6 ล้านคน แต่ประชาชนลูกเล็กเด็กแดงก็หนีภาษีไม่พ้น ตราบใดที่ยังมีการซื้อขายของกินของใช้ เครื่องอุปโภคบริโภค ภาษีมูลค่าเพิ่มแทรกแซงอยู่ในการซื้อขายภายในประเทศนั้น ๆ ไม่ว่าผู้นั้นจะรู้จักภาษีหรือไม่ และไม่ว่าจะเป็นคนไทย หรือคนต่างชาติก็ตาม แล้วการวางแผนภาษีหมายถึงอะไร อีกทั้งวางแผนไปเพื่ออะไร เป็นการหลีกเลี่ยงภาษีหรือไม่


การศึกษาให้เข้าใจเรื่องภาษีเป็นเรื่องยากอยู่แล้ว แต่การวางแผนภาษียิ่งยากกว่า แล้วยังเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดก่อนประกอบธุรกิจใด ๆ เสียด้วย เช่น การนำเข้ารถยนต์มาจำหน่าย การเข้ามาถ่ายภาพยนตร์ การประกอบกิจการศูนย์สรรพสินค้า การรับเหมาก่อสร้าง การซื้อขายภายในประเทศและระหว่างประเทศ เป็นต้น โดยการวางแผนภาษีที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญในการประกอบธุรกิจ เนื่องจากมีผลเป็นการลดต้นทุน และเพิ่มกระแสเงินสด (Cash Flow) ให้แก่กิจการได้ ขณะที่การวางแผนภาษีมิได้หมายความถึงการหนีภาษี หรือการจัดทำบัญชีสองชุดเช่นแต่ก่อน แต่มุ่งถึงการวางโครงสร้างทางธุรกิจให้สอดคล้องกับกฎหมายภาษีอากร ซึ่งก่อให้เกิดปัจจัยที่เอื้ออำนวยต่อการลงทุนโดยชอบด้วยกฎหมาย เช่น มีผลเป็นการยกเว้น หรือลดหย่อนภาษีอากร หรือหักค่าใช้จ่ายได้มากกว่า เป็นต้น


การวางแผนภาษีจำเป็นต้องพิจารณาผลกระทบและปัจจัยต่าง ๆ ในเรื่องของนิยามคำว่า ?เงินได้? ข้อยกเว้นภาระภาษี การลดอัตราภาษี การหักค่าใช้จ่าย การหักภาษี ณ ที่จ่าย อำนาจการประเมิน การกระจายฐานภาษี การใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน และเกณฑ์การชำระภาษี โดยเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร ให้รวมถึงเงินได้อันพึงเสียภาษีและประโยชน์อย่างอื่นที่ได้รับ การวางแผนภาษีที่สำคัญ คือ เงินได้ที่เกี่ยวข้องนั้นเป็น ?เงินได้? ที่ต้องเสียภาษีจริงหรือไม่ แม้เงินได้ที่ได้รับจะเป็นเงินได้ที่ต้องเสียภาษี แต่ประมวลรัษฎากรและกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาจบัญญัติข้อยกเว้นเงินได้ที่ไม่ต้องเสียภาษีอากรก็ได้ เช่น สัญญารับจ้างทำของที่หน้าที่งานเกิดขึ้นนอกประเทศ และคู่สัญญาได้ทำสัญญาขึ้นนอกประเทศจะได้รับยกเว้นไม่ต้องติดอากรแสตมป์เป็นอัตราร้อยละ 0.1 หรือกำไรจากการขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่บุคคลธรรมดาได้รับจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ขณะที่เงินปันผลที่บุคคลธรรมดาได้รับจะต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายร้อยละ 10 ดังนั้น ผู้ถือหุ้นอาจเลือกขายหุ้นดังกล่าวไปในตลาดหลักทรัพย์ฯ ก่อนการประกาศจ่ายเงินปันผล เพื่อรับกำไรจากการขายหุ้นซึ่งได้รับยกเว้นภาษี หลังจากที่บริษัทได้ประกาศจ่ายเงินปันผลไปแล้ว และมีผลให้ราคาหุ้นเริ่มลดลง จึงเริ่มทยอยซื้อหุ้นกลับคืนมา เป้นการแปรสภาพเงินได้ประเภทหนึ่งซึ่งไม่ได้รับการยกเว้นภาษีให้กลับกลายเป็นเงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี


เงินได้ที่ต้องเสียภาษีบางประเภทอาจได้รับการลดหย่อนภาษี เช่น เงินได้จากดอกเบี้ยเงินฝากซึ่งบุคคลธรรมดาได้รับจะเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตราร้อยละ 15 โดยผู้มีเงินได้ไม่ต้องนำไปรวมคำนวณกับเงินได้ประเภทอื่น ๆ หรือเงินปันผลที่บุคคลธรรมดาได้รับจะเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 10 และผู้มีเงินได้มีสิทธิเลือกนำไปรวมคำนวณกับเงินได้อื่น ๆ โดยได้รับเครดิตภาษีในอัตราร้อยละ 3 ใน 7 ส่วนของเงินปันผล เป็นการแปรสภาพเงินได้ที่ต้องเสียภาษีอัตราสูงมาเป็นเงินได้ที่ต้องเสียภาษีอัตราต่ำ นอกจากนั้นประมวลรัษฎากรจะให้คำนวณเงินได้พึงประเมินโดยหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา หรือหักค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริงก็ได้ ดังนั้น สิทธิในการหักค่าใช้จ่ายในการคำนวณภาษีอากรจึงเป็นข้อพิจารณาสำคัญอย่างหนึ่งในการเลือกรูปแบบการลงทุน


การหักภาษี ณ ที่จ่ายก็เป็นข้อพิจารณาสำคัญในการวางแผนภาษี เนื่องจากผู้มีเงินได้ต้องเสียภาษีล่วงหน้า ทำให้รายได้ที่ได้รับจริงมีจำนวนน้อยลง เมื่อถึงเวลาชำระเงินภาษีที่แท้จริง หากผู้มีเงินได้อยู่ในสภาวะขาดทุน หรือภาระภาษีน้อยกว่าจำนวนเงินภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่ได้ชำระไปแล้ว ต้องขอคืนงินภาษีจากกรมสรรพากร ก็อาจนำไปสู่การตรวจสอบบัญชีของกรมสรรพากร การบรรเทาภาระภาษีหัก ณ ที่จ่ายจึงอาจเป็นสิ่งจำเป็น แม้อาจจะไม่ทุกกรณีก็ตาม เช่น บริษัทรับจ้างก่อสร้างมีรายรับจากการก่อสร้าง 300 ล้านบาท หากทำสัญญารับจ้างก่อสร้างจะต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายร้อยละ 3 เป็นจำนวน 9 ล้านบาท เมื่อถึงเวลาเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล หากบริษัทมีกำไรสุทธิต่ำกว่าร้อยละ 10 ของยอดรายรับ บริษัทก็จะต้องขอคืนภาษีเงินได้นิติบุคคล ทางปฏิบัติจึงนิยมแยกสัญญาก่อสร้างเป็นสัญญาซื้อขายหนึ่งฉบับ และสัญญารับจ้างอีกหนึ่งฉบับ ซึ่งไม่มีภาษีหัก ณ ที่จ่ายในสัญญาซื้อขาย มีเพียงภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งขอคืนได้ แต่มีภาษีหัก ณ ที่จ่ายร้อยละ 3 ในสัญญารับจ้าง และบางกรณีก็จำเป็นต้องใช้ 2 บริษัทเข้าทำสัญญากับผู้ว่าจ้าง เพื่อเพิ่มเงินสดหมุนเวียน และตัดปัญหาการขอคืนภาษี


ภาระภาษีหัก ณ ที่จ่ายก็จำเป็นในบริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ และมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย แต่มีเงินได้ที่จ่ายจาก หรือจ่ายในประเทศไทย ซึ่งมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากรได้จัดเก็บภาษีหัก ณ ที่จ่ายเฉพาะกรณีที่ได้รับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) (6) ดังนั้น หากเป็นเงินได้ตามมาตรา 40 (7) และ 40 (8) ก็จะหลุดพ้นระบบภาษีในประเทศไทย


อำนาจการประเมินของเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร เช่น กรณีการขายทรัพย์สิน ให้กู้ยืมเงิน หรือให้บริการโดยไม่มีค่าตอบแทน หรือมีค่าตอบแทนต่ำกว่าราคาตลาด มาตรา 65 ทวิ (4) ให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินกำหนดราคาตลาดเพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล แต่หากนักลงทุนเป็นบุคคลธรรมดา เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจเพียงกำหนดราคาตลาดเฉพาะกรณีการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และการขายอสังหาริมทรัพย์เท่านั้น เว้นแต่ กรณีที่มีการได้รับเงินได้กันจริง แต่หลีกเลี่ยงไม่นำมารวมคำนวณภาษีอากร


การกระจายฐานภาษีเป็นการมุ่งใช้ประโยชน์จากหน่วยภาษีหลายหน่วยเพื่อการวางแผนภาษี เช่น กระจายรายรับให้บริษัทในเครือที่มีสภาพขาดทุน และกระจายรายจ่ายให้บริษัทในเครือที่มีกำไรสุทธิสูง สำหรับการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนในกรณีนักลงทุนที่เข้ามาจัดตั้งบริษัทเพื่อทำธุรกิจในประเทศไทย หรือบริษัทไทยที่จ่ายค่าบริการ หรือเข้าทำสัญญาใดกับบริษัทต่างประเทศ โดยอนุสัญญาภาษีซ้อนอาจใผลเป็นการยกเว้นหรือลดภาษีในประเทศไทย หรือในประเทศคู่ค้า แต่อนุสัญญาภาษีซ้อนไม่มีผลเป็นการยกเว้น หรือลดหย่อนภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ หรือภาษีศุลกากร ดังนั้น การปรับใช้จึงต้องศึกษาขอบข่ายด้านภาษีและตัวบุคคลที่อาจใช้สิทธิได้ให้รอบคอบ


เกณฑ์การชำระภาษี กรณีบุคคลธรรมดา ผู้มีเงินได้มีหน้าที่ชำระภาษีก็ต่อเมื่อได้รับเงินได้จริง มิใช่เพียงแค่มีสิทธิที่จะได้รับเท่านั้น เว้นแต่กฎหมายมีบทบัญญัติไว้ เช่น ค่าภาษีที่นายจ้างออกให้ต้องนำมารวมคำนวณเป็นเงินได้ในปีแรกที่มีเงินได้นั้น แม้นายจ้างจะยังมิได้ออกให้จริงก็ตาม ขณะที่ภาษีเงินได้นิติบุคคล มาตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากร และคำสั่งกรมสรรพากรที่ ทป.1/2528 กำหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใช้เกณฑ์สิทธิ (Accrual Basis) ในการคำนวณรายได้เพื่อเสียภาษี โดยให้นำรายได้ที่เกิดขึ้นในรอบบัญชีใด แม้ว่าจะยังไม่ได้รับชำระในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น มารวมคำนวณเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น


ประเด็นสำคัญของการวางแผนภาษีอีกประการหนึ่ง คือ จุดที่ต้องเสียภาษี (Taxing Point) หากสามารถชะลอให้ถึงจุดที่ต้องเสียภาษีช้าลงเท่าไร ก็จะชะลอการไหลออกของเงินได้มากเท่านั้น ทำให้เงินทุนหมุนเวียนมีมากขึ้น กระแสเงินสดก็มากสร้างความคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจ โดยจุดของการเสียภาษีประเภทต่าง ๆ เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม อยู่ที่การยื่นใบขนสินค้าขาเข้า ส่งมอบ ออกใบกำกับภาษี หรือรับเงิน ขณะที่ภาษีธุรกิจเฉพาะ อยู่ที่วันลงบัญชีรายรับ ยกเว้นธุรกิจบางประเภท เช่น สำนักงานกฎหมาย สำนักงานบัญชี ธุรกิจรับจ้างบางชนิด ยอมให้ใช้เกณฑ์เงินสด (Cash Basis) ส่วนภาษีสรรพสามิต เมื่อขนสินค้าออก เช่น เคลื่อนย้ายออกจากสถานที่ผลิต ออกจากท่าเรือ เป็นต้น


เขตอุตสาหกรรมส่งออก (Export Processing Zone - EPZ) คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse - BW) และเขตปลอดอากร (Free Zone - FZ) ล้วนเป็นเครื่องมือสำคัญในการชะลอหรือยกเว้นภาษีอากร กรณีนำเข้าเพื่อการส่งออกหากอยู่ใน EPZ ก็จะไม่ต้องเสียอากรขาเข้า อากรขาออก และภาษีมูลค่าเพิ่ม ขณะที่ BW เป็นประโยชน์ในการชะลอการเสียภาษี โดยอยู่ใน BW จะไม่ต้องเสียภาษี เสียภาษีเมื่อนำออกจาก BW เท่านั้น ใช้มากในกรณีการนำเข้ามาเก็บสินค้าไว้ใน BW ก่อน เมื่อส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าจึงนำออกจากคลังสินค้าทัณฑ์บน โดยจะมีรายรับจากค่าสินค้า พร้อมกับการจ่ายเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม ทำให้ไม่เกิดกรณีเงินทุนจมในสินค้า เนื่องจากการชำระภาษี พร้อมไปกับการมีรายได้ สำหรับ FZ ก็ยกเว้นอากรขาเข้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต และอากรขาออกด้วย การวางแผนภาษีที่ดีจึงจำเป็นต้องนำ EPZ BW และ FZ เข้ามาพิจารณาด้วยในบางกรณี


การวางแผนภาษีมีผลต่อการประกอบธุรกิจ ยิ่งในการประมูลโครงการต่าง ๆ ยิ่งจำเป็นอย่างมาก หากวางแผนภาษีได้ดีและรัดกุม ก็จะสามารถเสนอราคาในการเข้าประมูลโครงการได้ในราคาต่ำ แต่มีกำไร และสามารถได้รับการคัดเลือกให้ดำเนินครงการนั้น ๆ และจะยิ่งสำคัญกว่านั้น คือ การวางแผนภาษีต้องถูกต้องแม่นยำด้วย ป้องกันผลเสียหายที่อาจเกิด การวางแผนภาษีจึงหลีกเลี่ยงได้ยากยิ่งในธุรกิจที่ประสบความสำเร็จและรุ่งเรือง


ขอขอบคุณข้อมูล : Tax & Business Magazine
 
4/7/2006   
 

กรณีศึกษา - การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

http://www.mcot.net/lady/query.php?id=395&type=1

-

กระจายการลงทุนเพื่ออนาคตที่สดใส http://www.bangkokbiznews.com/fundamental/


Page 1/1
1
Copyright © 2005 www.teinpun.com Allrights Reserved.
Powered By www.Freethailand.com